กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กัลยทรรศน์ ติ้งหวัง

ชื่อโครงการ โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5312-2-02 เลขที่ข้อตกลง 03/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5312-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 97,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ Coronavirus disease (COVID-19) ได้แพร่ระบาดอย่างรุนแรงทั่วโลก จนองค์การอนามัยโลก (WHO) ประกาศให้การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็น "การระบาดใหญ่" หรือ pandemic และประเทศไทยได้ประกาศชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตรายให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด-19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย ซึ่งโรคดังกล่าวมีอาการสำคัญของโรคมีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หอบเหนื่อย หรือมีอาการของ โรคปอดอักเสบ ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว และอาจถึงขั้นเสียชีวิต การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาในประเทศไทย พบว่า มีผู้ป่วย และประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องอยู่ในระหว่างเฝ้าระวัง กักบริเวณในที่พำนักเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบ ทั้งด้านสาธารณสุข สังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคงของประเทศเริ่มเห็นชัดเจนมากขึ้น จึงเริ่มพบปัญหาการขาด แคลนอุปกรณ์ในการป้องกันโรค บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขที่มีไม่เพียงพอกับการดูแล ผู้ติดเชื้อโรคไวรัสโคโรนา และสูญเสียค่ารักษาพยาบาล ประชาชนเกิดความตื่นตระหนก ผู้ประกอบการต่าง ๆ ประสบปัญหาขาดทุนทำให้ต้องปิดกิจการและเลิกจ้างคนงาน เป็นต้น ที่ผ่านมามีการปรึกษาหารือกับภาคียุทธศาสตร์ทั้งด้านสุขภาพและการ พัฒนาสังคม เช่น กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) สถาบันพัฒนา องค์กรชุมชน (พอช.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมการปกครอง เครือข่ายหมออนามัย และ Thai PBS มาเป็นระยะ มีผลสรุปร่วมกันทที่เป็นสาระสำคัญ คือ สถานการณ์ดังกล่าวมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยพลังพลเมืองร่วมมือกันบริหารจัดการปัญหาแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ทั้งในระดับจังหวัด อำเภอ โดยมีตำบลเป็นจุดยุทธศาสตร์ในการสร้างการบูรณาการบทบาทความรับผิดชอบและหนุนเสริมมาตรการทางสังคมกับภาครัฐอย่างเป็นระบบเนื่องจากตำบลมีต้นทุนและศักยภาพที่สำคัญทั้งการสนับสนุนทรัพยากรและองค์กรภาคีเครือข่าย อาทิเช่น กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ สภาองค์กรชุมชน ท้องถิ่น ท้องที่ และหน่วยงานภาครัฐทั้งท้องถิ่นและท้องที่ ปัจจุบันสมาคมผู้บริโภคสตูลมีการจดแจ้งจัดตั้งถูกต้องตามกฎหมาย และมีเครือข่ายผู้บริโภคคลอบคุลมทุกพื้นที่ตำบลในจังหวัดสตูล หากสมาคมผู้บริโภคสตูลร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) องค์กรภาคประชาสังคม ภาคเอกชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน ผู้นำทางศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และศูนย์ประสานงานหลักประกันสุขภาพประชาชน ช่วยกันสนับสนุนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักเกี่ยวกับการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่ออันตรายจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 มีการปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนสถานการณ์ให้ประชาชนในพื้นที่เท่าทันต่อสถานการณ์ปัญหา และกำหนดนโยบายสาธารณะระดับ พื้นที่ ด้วยการสร้างกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาในระดับตำบล ก็จะ ช่วยให้การสนับสนุนและส่งเสริมป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขจากการแพร่ระบาดของโรคจากนโยบายของภาครัฐ เกิดความเหมาะสมตามความจำเป็นและเท่าทันต่อสถานการณ์ของพื้นที่ได้อีกทางหนึ่ง ด้วยเหตุนี้ สมาคมผู้บริโภคสตูลจึงได้จัดทำโครงการรวมพลังพลเมือง ตื่นรู้ หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 ตำบลปากน้ำ ขึ้น เพื่อระดมความร่วมมือและทรัพยากรที่มีอยู่ใน ท้องถิ่น เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม และส่งเสริมสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาด ของโรคติดต่ออันตรายจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ไม่ให้เกิดขึ้นในชุมชน รวมทั้งหาแนวทางหรือ เตรียมการฟื้นฟูสุขภาวะของคนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ให้สามารถ กลับมามีสุขภาวะที่ดีต่อไป จึงขอเสนอโครงการดังกล่าวเพื่อรับการสนับสนุนจากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปากน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กร ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ เฝ้าระวัง ป้องกัน การติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยสามารถถ่ายทอดความรู้ในการการดูแลและแนะนำให้กับประชาชนของชุมชนในตำบลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้โดยสร้างความร่วมมือร่วมใจให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในตำบลของตนเอง ตามแนวทางและมาตรการต่างๆของประกาศที่เกี่ยวข้องกำหนดในช่วงของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานชี้แจงรายละเอียด
  2. 2 ลงพื้นที่ระดับหมู่บ้านเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ตามแนวทางและมาตรการต่าง ๆ
  3. เวทีประกาศกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาตำบล เพื่อแก้ไข ปัญหาโรคเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่
  4. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการทำงานโครงการ
  5. สรุปประมวลความคิดเห็นฉันทามติ ข้อตกลง มาตรการทางสังคมต่าง ๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มองค์กร ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาการติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค

  2. กลุ่มองค์กร ประชาชน มีองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และสามารถถ่ายทอดความรู้การดูแลตนเอง และแนะนำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลของตนเองได้อย่างถูกต้อง

  3. ประชาชนเกิดความตระหนักรู้และมีส่วนร่วมเป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในตำบลของตนเอง ตามแนวทาง

และมาตรการต่าง ๆ ของประกาศที่เกี่ยวข้องกำหนดในช่วงของสถานการณ์การแพ่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่

  1. เกิดนโยบายสาธารณะที่มีการประกาศเป็นกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญ สุขภาพ แผนพัฒนาตำบล ที่ทุกภาคส่วนจะแก้ไขปัญหาและนำไปปฏิบัติร่วมกัน สำหรับเฝ้าระวัง ป้องกัน และ แก้ไขปัญหาการติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กร ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ เฝ้าระวัง ป้องกัน การติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : มีองค์กรเข้าร่วมในการเฝ้าระวังฯ อย่างน้อย ๑๔ องค์กร
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยสามารถถ่ายทอดความรู้ในการการดูแลและแนะนำให้กับประชาชนของชุมชนในตำบลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจ ในการป้องกันโรค โควิด -19 และสามารถถ่ายทอดความรู้ได้
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้โดยสร้างความร่วมมือร่วมใจให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในตำบลของตนเอง ตามแนวทางและมาตรการต่างๆของประกาศที่เกี่ยวข้องกำหนดในช่วงของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
ตัวชี้วัด : -ร้อยละ 10 ของประชาชนมีพฤติกรรมฝ่าฝืนไม่สวมหน้ากากอนามัยในหมู่บ้าน -มีกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาตำบล เพื่อแก้ไขปัญหาดรคเชื้อไวรัสสายพันธืใหม่ (COVID-19) จำนวน 1 ชุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 350
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มองค์กร ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ เฝ้าระวัง ป้องกัน การติดต่อของโรคติดเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ COVID-19 ตามแนวทางของกรมควบคุมโรค (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยสามารถถ่ายทอดความรู้ในการการดูแลและแนะนำให้กับประชาชนของชุมชนในตำบลตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักรู้โดยสร้างความร่วมมือร่วมใจให้เป็นผู้มีความรับผิดชอบต่อสังคมในตำบลของตนเอง ตามแนวทางและมาตรการต่างๆของประกาศที่เกี่ยวข้องกำหนดในช่วงของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานชี้แจงรายละเอียด (2) 2 ลงพื้นที่ระดับหมู่บ้านเพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ตามแนวทางและมาตรการต่าง ๆ (3) เวทีประกาศกฎ กติกา ข้อตกลง มาตรการทางสังคม ธรรมนูญสุขภาพ แผนพัฒนาตำบล เพื่อแก้ไข ปัญหาโรคเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (4) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถอดบทเรียนการทำงานโครงการ (5) สรุปประมวลความคิดเห็นฉันทามติ ข้อตกลง มาตรการทางสังคมต่าง ๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรวมพลังพลเมืองตื่นรู้ ร่วมตระหนัก หนุนช่วยรัฐ สู้ภัยโควิด-19 (COVID-19)ตำบลปากนํ้า จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5312-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กัลยทรรศน์ ติ้งหวัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด