กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม
รหัสโครงการ 63-L8403-2-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม
วันที่อนุมัติ 19 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2563
งบประมาณ 18,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.นางเพลิน พุทธาศรี 2.นางเพ็ญนภา มุณีแนม 3.นางรัตนา พุฒจันทร์ ๔.นางบุญญิสา จันทกูล ๕.นางนงลักษณ์ ทองดีเลิศ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

เนื่องจากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ตามที่ได้มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทั้งในประเทศและอีกหลายประเทศทั่วโลก ทำให้มีผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเป็นจำนวนมากอย่างต่อเนื่องและมีแนวโน้มจะเป็นเช่นนี้อีกหลายเดือน ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสุขภาพและชีวิตของประชาชน และระบบเศรษฐกิจโดยรวมทั้งในประเทศและหลายประเทศทั่วโลก จนรัฐบาลต้องออกพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน และออกมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าว และทางโรงเรียนได้เลื่อนกำหนดการเปิดภาคเรียนออกไป จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดจะดีขึ้น ขณะนี้สถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มีแนวโน้มที่ดีขึ้นและลดลงอย่างต่อเนื่อง และรัฐบาลได้กำหนดวันเปิดเรียน ภาคเรียน เป็นวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงมีความจำเป็นที่จะต้องมีการเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่อมิให้นักเรียนและบุคลากรติดเชื้อและป่วยด้วยโรคดังกล่าว

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑.เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

๑.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กไม่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

0.00
2 ๒.เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

๒.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองและสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)ได้

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 18,500.00 0 0.00
??/??/???? จัดตั้งจุดบริการล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล ๗๐%และจุดบริการล้างมือด้วยสบู่ 0 7,200.00 -
??/??/???? ให้ความรู้เรื่องการป้องกันตนเองและสาธิตวิธีการล้างมือแก่นักเรียน 0 750.00 -
1 - 30 มิ.ย. 63 1.จัดตั้งจุดคัดกรองอุณหภูมิร่างกายนักเรียนก่อนเข้าศูนย์เด็กฯ 0 7,500.00 -
1 ก.ค. 63 - 30 มิ.ย. 63 ทำความสะอาดห้องเรียน โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์เครื่องใช้ และจุดเสี่ยงต่างๆ ในศูนย์เด็กด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ 0 3,050.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ไม่มีการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนานา ๒๐๑๙ ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 มิ.ย. 2563 00:00 น.