โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน ”
ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุดี แซ่โค้ว พยาบาลวิชาชีพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8020-1-02 เลขที่ข้อตกลง 4/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8020-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถิติการตั้งครรภ์ในปัจจุบันมีมากขึ้น ในพื้นที่อ.รัตภูมิ ปี 2562 มีมารดาคลอดใน รพ.รัตภูมิ ทั้งหมด 530 คน ได้รับการฟื้นฟูหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทย 128 คน คิดเป็นร้อยละ 24.15 เขตเทศบาลตำบลกำแพงเพชร มีมารดาที่คลอด 26 คน ได้รับการฟื้นฟูหลังคลอด.. คน คิดเป็นร้อยละ 5 คิดเป็นร้อยละ 19.23 มารดาหลังคลอดยังขาดการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งศาสตร์การแพทย์แผนไทยเกี่ยวข้องกับการดูลสุขภาพมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด มารดาตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจมากมาย แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นเรื่อย ๆ ภูมิต้านทานของมารดาหลังคลอดจะน้อยลง มีภาวะร้อนๆหนาวๆ ปวดกล้ามเนื้อตามร่างกาย และปวดบ่อยครั้ง การดูแลหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมารดาหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาสุขภาพ ในระยะหลังคลอด จะเป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับเข้าสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว และการนำการแพทย์แผนไทย เข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอด เป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่ง เพราะสุขภาพของผู้เป็นแม่ มีความสำคัญไม่เฉพาะต่อตัวเองเท่านั้น แม่ยังเป็นพื้นฐานสำคัญในการดูแลสุขภาพของครอบครัว โดยเฉพาะสุขภาพของลูก นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลที่จะฟื้นฟูด้านการแพทย์แผนไทย ให้มีบทบาทในระบบบริการสาธารณสุขของประเทศอีกด้วย
งานแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทย ตามแนวทางเวชปฏิบัติติในเขตเทศบาลตำบลกำแพงเพชรแบบบริการเชิงรุกในชุมชน เนื่องจากมารดาหลังคลอดส่วนหนึ่งพบปัญหาว่าไม่มีเวลาในการเดินทางมารับบริการในรพ. ไม่มีคนคอยดูแลบุตร โดยออกให้บริการดังนี้ การใช้ยาสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การอบไอน้ำสมุนไพร การนวดหลังคลอดนวดกระตุ้นน้ำนมในกรณีน้ำนมไหลน้อย ไม่ไหล คัดตึงเต้านม ตลอดจนให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารบำรุงน้ำนม อาหารแสลง น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการดูแลผิวพรรณด้วยสมุนไพรของมารดาหลังคลอด เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพบำบัดโรคที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
- ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
- มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มารดาหลังคลอดได้รู้จักและได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทย
2.มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทยได้อย่างเหมาะสม ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อย สามารถทำงานได้เป็นปกติ หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น
3. มารดาหลังคลอดได้รับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย
วันที่ 11 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
1 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่หญิงตั้งครรภ์เพื่อเชิญชวนเข้าร่วมโครงการในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลกำแพงเพชร
2. ดำเนินการตามแผนการให้บริการแก่มารดาหลังคลอดและออกเยี่ยมบ้านตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทยครบ 5 ขั้นตอน จำนวน 26 คน เริ่มตั้งแต่ 2 ก.ค. - 15 ก.ย. 63
3.มารดาหลังคลอดได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน ประยุกต์ใช้สมุนไพรในท้องถิ่น นำไปปรับใช้ชีวิตประจำวันได้
4.มารดาหลังคลอดที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทยครบ 5 ขั้นตอน ช่วยลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อย สามารถทำงานได้เป็นปกติ ช่วยฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ข้อมูลผู้รับบริการ จำแนกเป็น ช่วงอายุ 20-30ปี ร้อยละ 53.85 รองลงมาช่วงอายุ 30-40ปี ร้อยละ 38.46 และช่วงอายุน้อยกว่า 20ปี ร้อยละ 7.69 อาชีพ แม่บ้าน ร้อยละ 38.46 ค้าขาย ร้อยละ 26.92 ทำสวน ร้อยละ 19.23 และรับจ้าง ร้อยละ 15.38 ไม่เคยรับบริการแพทย์แผนไทย 76.92 เคยรับการแพทย์แผนไทย 23.08
30
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มารดาหละงคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นก่อนหลังบริการ จากร้อยละ63.84 เป็นร้อยละ 98.85
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : จำนวนมารดาหลังคลอดที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทย
30.00
26.00
2
ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
0.00
3
มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
26
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
30
26
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย (2) ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง (3) มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8020-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุดี แซ่โค้ว พยาบาลวิชาชีพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน ”
ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุดี แซ่โค้ว พยาบาลวิชาชีพ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8020-1-02 เลขที่ข้อตกลง 4/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8020-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถิติการตั้งครรภ์ในปัจจุบันมีมากขึ้น ในพื้นที่อ.รัตภูมิ ปี 2562 มีมารดาคลอดใน รพ.รัตภูมิ ทั้งหมด 530 คน ได้รับการฟื้นฟูหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทย 128 คน คิดเป็นร้อยละ 24.15 เขตเทศบาลตำบลกำแพงเพชร มีมารดาที่คลอด 26 คน ได้รับการฟื้นฟูหลังคลอด.. คน คิดเป็นร้อยละ 5 คิดเป็นร้อยละ 19.23 มารดาหลังคลอดยังขาดการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย อาจเพราะขาดความรู้และไม่ทราบถึงประโยชน์การดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยจึงให้ความสำคัญน้อยมาก ซึ่งศาสตร์การแพทย์แผนไทยเกี่ยวข้องกับการดูลสุขภาพมารดาหลังคลอดนับเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาอันล้ำค่าของไทย ที่ได้รับการยอมรับและถ่ายทอดกันมาอย่างต่อเนื่อง จากอดีตจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากตลอดการตั้งครรภ์จนกระทั่งคลอด มารดาตั้งครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกายและจิตใจมากมาย แม้ว่าหลังคลอดแล้วร่างกายมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง แต่เมื่ออายุมากขึ้นเรื่อย ๆ ภูมิต้านทานของมารดาหลังคลอดจะน้อยลง มีภาวะร้อนๆหนาวๆ ปวดกล้ามเนื้อตามร่างกาย และปวดบ่อยครั้ง การดูแลหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทยเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมารดาหลังคลอด การฟื้นฟู การส่งเสริม การป้องกัน การรักษาสุขภาพ ในระยะหลังคลอด จะเป็นการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้กลับเข้าสู่สภาพปกติได้โดยเร็ว และการนำการแพทย์แผนไทย เข้าสู่ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพของมารดาหลังคลอด เป็นเรื่องที่มีความสำคัญยิ่ง เพราะสุขภาพของผู้เป็นแม่ มีความสำคัญไม่เฉพาะต่อตัวเองเท่านั้น แม่ยังเป็นพื้นฐานสำคัญในการดูแลสุขภาพของครอบครัว โดยเฉพาะสุขภาพของลูก นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลที่จะฟื้นฟูด้านการแพทย์แผนไทย ให้มีบทบาทในระบบบริการสาธารณสุขของประเทศอีกด้วย
งานแพทย์แผนไทย รพ.รัตภูมิ ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการฟื้นฟูมารดาหลังคลอดด้วยแพทย์แผนไทย ตามแนวทางเวชปฏิบัติติในเขตเทศบาลตำบลกำแพงเพชรแบบบริการเชิงรุกในชุมชน เนื่องจากมารดาหลังคลอดส่วนหนึ่งพบปัญหาว่าไม่มีเวลาในการเดินทางมารับบริการในรพ. ไม่มีคนคอยดูแลบุตร โดยออกให้บริการดังนี้ การใช้ยาสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การประคบสมุนไพร การอบไอน้ำสมุนไพร การนวดหลังคลอดนวดกระตุ้นน้ำนมในกรณีน้ำนมไหลน้อย ไม่ไหล คัดตึงเต้านม ตลอดจนให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารบำรุงน้ำนม อาหารแสลง น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพ และการดูแลผิวพรรณด้วยสมุนไพรของมารดาหลังคลอด เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพบำบัดโรคที่ดีอีกวิธีหนึ่ง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย
- ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง
- มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มารดาหลังคลอดได้รู้จักและได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทย
2.มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทยได้อย่างเหมาะสม ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อย สามารถทำงานได้เป็นปกติ หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น
3. มารดาหลังคลอดได้รับความรู้ด้านแพทย์แผนไทยและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย |
||
วันที่ 11 มีนาคม 2564กิจกรรมที่ทำ1 ประชาสัมพันธ์โครงการแก่หญิงตั้งครรภ์เพื่อเชิญชวนเข้าร่วมโครงการในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลกำแพงเพชร 2. ดำเนินการตามแผนการให้บริการแก่มารดาหลังคลอดและออกเยี่ยมบ้านตามกลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทยครบ 5 ขั้นตอน จำนวน 26 คน เริ่มตั้งแต่ 2 ก.ค. - 15 ก.ย. 63 3.มารดาหลังคลอดได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้าน ประยุกต์ใช้สมุนไพรในท้องถิ่น นำไปปรับใช้ชีวิตประจำวันได้ 4.มารดาหลังคลอดที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทยครบ 5 ขั้นตอน ช่วยลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อย สามารถทำงานได้เป็นปกติ ช่วยฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นข้อมูลผู้รับบริการ จำแนกเป็น ช่วงอายุ 20-30ปี ร้อยละ 53.85 รองลงมาช่วงอายุ 30-40ปี ร้อยละ 38.46 และช่วงอายุน้อยกว่า 20ปี ร้อยละ 7.69 อาชีพ แม่บ้าน ร้อยละ 38.46 ค้าขาย ร้อยละ 26.92 ทำสวน ร้อยละ 19.23 และรับจ้าง ร้อยละ 15.38 ไม่เคยรับบริการแพทย์แผนไทย 76.92 เคยรับการแพทย์แผนไทย 23.08
|
30 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
มารดาหละงคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นก่อนหลังบริการ จากร้อยละ63.84 เป็นร้อยละ 98.85
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : จำนวนมารดาหลังคลอดที่ได้รับการฟื้นฟูด้วยการแพทย์แผนไทย |
30.00 | 26.00 |
|
|
2 | ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
||
3 | มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | 26 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 30 | 26 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดรู้จักและ เข้าถึงการฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์แผนไทย (2) ส่งเสริมให้มารดาหลังคลอดมีความรู้เรื่องการดูแลตนเองในระยะหลังคลอดด้วยการการแพทย์แผนไทยมากขึ้นและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง (3) มารดาหลังคลอดมีความพึงพอใจกับการดูแลมารดาหลังคลอดด้วยวิธีการแพทย์แผนไทย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยแพทยืแผนไทย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ฟื้นฟูมารดาหลังคลอดเชิงรุกในชุมชน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L8020-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุดี แซ่โค้ว พยาบาลวิชาชีพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......