กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิภารัตน์ แทนบุญ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8020-1-03 เลขที่ข้อตกลง 5/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L8020-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคข้อเข่าเสื่อมเป็นโรคข้อเรื้อรังที่พบบ่อยที่สุด เป็นภาวะที่ข้อเข่าผ่านการใช้งานมาเป็นเวลานานเกิดการเสื่อมของกระดูกอ่อนบริเวณผิวข้อ ทำให้มีการงอกของกระดูกตำแหน่งที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนในโรคนี้ คือ กระดูกผิวข้อ ในข้อที่มีเยื่อบุ โดยพบการทำลายกระดูกอ่อนผิวข้อที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ อย่างต่อเนื่องตามเวลาที่ผ่านไป ลักษณะทางคลินิกที่สำคัญ คือ ปวดข้อ ข้อฝืด มีปุ่มกระดูกงอกบริเวณข้อ การทำงานของข้อเข่าเสียไป การเคลื่อนไหวลดลง หากกระบวนการนี้ดำเนินต่อไปจะมีผลทำให้ข้อผิดรูปและพิการในที่สุด ทำให้เกิดความทรมานแก่ผู้สูงอายุเป็นอย่างยิ่ง ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตที่ลดลง พบว่าผู้สูงอายุและกลุ่มเสี่ยงข้อเข่าเสื่อมยังไม่เข้าใจในเรื่องโรคข้อเข่าเสื่อมและวิธีป้องกันโรคอย่างถูกต้องจึงมีปัญหาปวดข้อและปวดเมื่อยตามร่างกายเป็นประจำและมักมีการใช้ยาแก้ปวด ยาชุด ยาซองมาบรรเทาการเจ็บปวด       ดังนั้นงานกายภาพบำบัดและงานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลรัตภูมิ จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงได้เขียนโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม” เพื่อแก้ปัญหาเรื่องข้อเข่าเสื่อมนี้คือ การป้องกันหรือชะลอ ไม่ให้เกิดภาวะดังกล่าวนี้ให้นานที่สุด ซึ่งมีแนวทางในการปฏิบัติตัวและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเข่าเสื่อม และสร้างเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น โดยข้อปฏิบัตินี้เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยยืดอายุของข้อต่อและระบบโครงสร้างของร่างกายเราให้ใช้งานได้เนิ่นนานขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมื่อย ดูแลตัวเอง ให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อมได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อม การป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม
  2. กิจกรรมที่ 2 นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมื่อย ดูแลตัวเอง ให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อมได้ถูกต้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อม การป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม

วันที่ 3 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ขั้นเตรียมการ 1.ประสานประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้องและอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน(อสม.)ในชุมชน 2. ค้นหาคัดกรองผู้สูงอายุและประชาชนที่มีกลุ่มเสี่ยงโรคเข่าเสื่อมในเขตเทศบาลตำบลกำแพงเพชร 3. จัดเตรียมบุคลากร เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม ขั้นดำเนินการ 4. จัดอบรมความรู้เรื่องข้อเขาเสื่อม การป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม 4.1 บริการตรวจรักษาด้วยวิธีการทางการแพทย์แผนไทย จ่ายยา สมุนไพร พอกเข่า เผายา สาธิตการทำลูกประคบ 4.2 ให้ความรู้เรื่องการดูแลบริการข้อเข่า สาธิตและประดิษฐ์ถุงทรายบริหารข้อเข่า 5.นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเองก่อนและหลังเข้าร่วม จากร้อยละ 80.45 เป็นร้อยละ 99.88

 

50 0

2. กิจกรรมที่ 2 นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

วันที่ 7 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ทบทวนความรู้วิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม 2.ประเมินภาวะข้อเข่าเสื่อม 3.ท่าบริหารป้องกันเข่าเสื่อม 4.สาธิตวิธีการทำอุปกรณ์ถุงทรายเพิ่มความแข็งแรงข้อเข่า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.การจัดกิจกรรมในครั้งนี้มีประโยชน์
2.ได้รับความรู้/ประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อไปปรับใช้ได้

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง
40.00 87.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมื่อย ดูแลตัวเอง ให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อมได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจ และห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อม
40.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 87
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) . เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคข้อเข่าเสื่อม ภาวะแทรกซ้อนและการดูแลตนเอง (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสามารถในการป้องกันอาการปวดข้อเข่าและปวดเมื่อย ดูแลตัวเอง ให้ห่างไกลจากโรคข้อเข่าเสื่อมได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมความรู้เรื่องข้อเข่าเสื่อม การป้องกันและวิธีการดูแลตัวเองจากโรคข้อเข่าเสื่อม (2) กิจกรรมที่ 2 นัดกลุ่มเป้าหมาย ติดตามประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L8020-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิภารัตน์ แทนบุญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด