กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ


“ โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2 ”

ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายกัมพล ถิ่นทะเล

ชื่อโครงการ โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2

ที่อยู่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5312-2-07 เลขที่ข้อตกลง 08/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5312-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล อ่าวปากบาราเป็นบริเวณทะเลนับจากเกาะตะรุเตาเข้ามาประชิดฝั่งแผ่นดินใหญ่ เป็นพื้นที่ ที่มีฐานทรัพยากรทางทะเลอุดมสมบูรณ์ในทะเลแถบอันดามันของไทย มีระบบนิเวศน์ทะเลชายฝั่ง ที่มีลักษณะ เฉพาะ บริเวณปากแม่น้ำที่อุดมสมบูรณ์ก่อให้เกิดแหล่งอาหาร และอนุบาลสัตว์น้ำ มีเกาะแก่งขนาบ ทั้งด้านเหนือ ด้านใต้ และด้านตะวันตก มีร่องน้ำเดินเรือ มีทั้งแหล่งปะการังธรรมชาติ และปะการังเทียม ในบริเวณอ่าวปากบารา ปัจจุบันการประมงแบบหลากหลายวิธี ทั้งเรือประมงพาณิชย์ และเรือประมงพื้นบ้าน ที่มีการใช้ เครื่องมือจับสัตว์น้ำที่ทันสมัย ทำให้จำนวนประชากรสัตว์น้ำลดลงอย่างเห็นได้ชัด ข้อมูลจากประมงพื้นบ้าน กล่าวเป็นเสียงเดียวกันว่า ปริมาณที่จับสัตว์น้ำลดลง ออกเรือหาปลาแต่ละครั้งก็ต้องก็ได้ ปริมาณลดลงมาก และต้องออกหาปลาไกลขึ้น ใช้เชื้อเพลิงน้ำมันออกเรือปริมาณมากขึ้น ออกเรือหาปลาใช้เวลานานขึ้น บางทีในการ ออกเรือแต่ละครั้งค่าน้ำมันเรือกับจำนวนปลาที่ได้ก็ขาดทุน ชาวประมงพื้นบ้านได้เห็นผลกระทบดังกล่าว อีกทั้งยังขาดการทำกิจกรรมทางเพื่อส่งเสริมสุขภาพของตนเอง จึงได้เกิดความร่วมมือกันจากหลายชุมชนโดยรอบอ่าวปากบารา เริ่มทำกิจกรรมฟื้นฟูสัตว์น้ำในหลากหลาย วิธี เช่น กิจกรรมธนาคารปู การกำหนดเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำร่วมกัน การทำกิจกรรมทางกายร่วมกันโดยการวางซั้งกอหรือบ้านปลาเพื่อสร้างแหล่ง หลบภัยให้ ฝูงปลา โดยเฉพาะในช่วงหน้ามรสุม บ้านปลายังเป็นแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำตัวอ่อนอีกด้วยภายใต้ การรวมกลุ่มกัน “สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ” เพื่อรวมเครือข่ายชาวบ้านทำกิจกรรมอนุรักษ์ ให้ต่อเนื่องและยั่งยืนการวางซั้งกอหรือสร้างบ้านให้ปลา เป็นกิจกรรมที่ประชาชนสามารถใช้กล้ามเนื้อของร่างกายในการสร้างซังกอ เสริมสร้างสุขภาพให้แข็งแรง และสามารถเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำและสามารถป้องกันการใช้เครื่องมือประมงผิดกฎหมายที่จะรุกเข้ามาในเขตพื้นที่การประมงพื้นบ้านได้ด้วย นอกจากนี้ การกำหนดพื้นที่วางซั้งกอ ทำให้ชาวบ้านในชุมชนได้รับประโยชน์ เนื่องจาก ทำให้ชาวบ้านสามารถออกไปจับปลามาประกอบอาหารในครัวเรือน ได้สัตว์น้ำที่ปลอดภัยทำให้ส่งผลดีต่อสุขภาพ ปลอดจากสารฟอร์มาลีน และสารเคมีต่างๆ สมาคมชาวประมงพื้นบ้านปากน้ำ จึงได้ร่วมกันรณรงค์ให้ชุมชนตลอดจนผู้เกี่ยวข้องได้ร่วมบริหารจัดการ ทรัพยากรชายฝั่งพื้นที่อ่าวปากบาราอย่างมีส่วนร่วมเพื่อความรักษาความมั่นคงทางอาหารของโลก และสามารถ รักษาทรัพยากรชายฝั่งให้อุดมสมบูรณ์ยั่งยืนสู่รุ่นลูกหลานสืบไปเมื่อปี พ.ศ. 2562 ทางสมาคมชาวประมงพื้นบ้านตำบลปากนํ้า ได้เสนอโครงการและงบประมาณจำนวนหนึ่ง ผ่านองค์การบริหารส่วนตำบลปากนํ้า โดยได้จัดโครงการ สุขภาพดีด้วยซั้งกอ มีการจัดเวทีและจัดกิจกรรมสร้างความร่วมมือกับคนในชุมชน กจิกรรมทางกายของผู้เข้าร่วมทำซังกอ(สร้างบ้านปลา) ในอ่าวปากบาราจำนวน 100 ต้น 3 จุด ซึ่งผลลัพธ์ที่ออกมา ทำให้สัตว์นํ้าบริเวณดังกล่าว มีปริมารเพิ่มมากขึ้น ชาวประมงพื้นบ้านจับปลาได้มากขึ้น ประหยัดค่าใช้จ่าย และคนในชุมชน ได้บริโภคสัตว์นํ้าที่ปลอดภัย จึงทำให้เกิดโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซั้งกอ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซั้งกอ (บ้านปลา)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เวทีสร้างความเข้าใจคณะทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมการวางซั้งกอในอ่าวปากบารา
  2. กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา
  3. กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล
  4. กิจกรรมสรุปหลังสร้างบ้านปลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ได้บริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัย ส่งผลให้มีสุขภาพที่ดี ห่างไกลจากภัยไข้เจ็บ 2.ประชาชนมีกิจกรรมทางกายร่วมกันจากกิจกรรมการสร้างซังกอ (บ้านปลา) 3.ปริมาณความหนาแน่นของปลาเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นแหลงกำเนิดและอนุบาลสัตว์นํ้า ในบริเวณพื้นที่ชายฝั่งเพื่อแสดงความอุดมสมบูรณ์ของท้องทะเลเกิดความร่วมมือในชุมชนท้องถิ่น รวมถึงภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ในเรื่องการอนุรักษ์และความมั่นคงทางอาหารสู่ความแข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันทรัพยากรทางทะเล 4.สามารถสร้างองค์ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลทางสู่สาธารณชน 5.เกิดเป็นต้นแบบแนวทางการดำเนินการเพื่อฟื้นฟูสัตว์นํ้าที่อ้างอิงในเชิงธรรมได้ 6.เกิดเป็นชุมชนต้นแบบของการจัดกิจกรรมทางกายเป็นแบบอย่างของชุมชนใกล้เคียง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซั้งกอ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซั้งกอ (บ้านปลา)
ตัวชี้วัด :
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคอาหารทะเลที่ปลอดภัยจากการสร้างซั้งกอ (2) เพื่อให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในการสร้างซั้งกอ (บ้านปลา)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เวทีสร้างความเข้าใจคณะทำงาน เพื่อเตรียมความพร้อมการวางซั้งกอในอ่าวปากบารา (2) กิจกรรมการมีส่วนร่วม เตรียมอุปกรณ์ทำซั้งกอหรือบ้านปลา (3) กิจกรรมคืนบ้านให้ปลาสู่ท้องทะเล (4) กิจกรรมสรุปหลังสร้างบ้านปลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ สุขภาพดี ด้วยซั้งกอ ปี2 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5312-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายกัมพล ถิ่นทะเล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด