กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรอง ติดตาม เฝ้าระวัง สอบสวน และควบคุมโรค โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หมู่ที่ ๕ บ้านพรุเตียว
รหัสโครงการ 63-L5251-5-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านพรุเตียว
วันที่อนุมัติ 22 มิถุนายน 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 9,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายชำนาญ ทองสาย/นางจิตีมาสา มะหรี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.584,100.382place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) มีการแพร่ระบาดใหญ่(Pandemic) หลายพื้นที่ทั่วโลก(ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก, ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๓) โดยกระทรวงสาธารณสุขประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓         ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินการติดตาม การสั่งการ และการดำเนินงานต่อสถานการณ์ของโรค โดยการเฝ้าระวังและติดตาม  กลุ่มเสี่ยง ประกอบกับตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา มีพื้นที่ติดเขตชายแดนประเทศมาเลเซีย มีประชาชน  ในพื้นที่ เดินทางไปทำงาน ต่างพื้นที่และต่างประเทศจำนวนมาก และต้องเดินทางกลับ เนื่องจากมาตรการปิดประเทศ จำเป็นต้องมีการคัดกรองโรค ค้นหา และเฝ้าระวังติดตามผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง การให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงเพื่อแยกตัวสังเกตอาการและหลีกเสี่ยงการใกล้ชิดผู้อื่น ในที่พำนักหรือที่พักอาศัยจนครบ ๑๔ วัน เพื่อป้องกันการระบาดของโรค         อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีบทบาทและเป็นกำลังสำคัญทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล การค้นหากลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง นำเข้าระบบการรักษา ยิ่งค้นหาเร็ว ตรวจเร็ว รักษาเร็ว ยิ่งทำให้สถานการณ์ดีขึ้น เป็นด่านหน้าออกเคาะประตูบ้าน ให้ความรู้ ย้ำความสำคัญมาตรการการเว้นระยะห่าง ทำให้งานควบคุมและป้องกันโรคในระดับชุมชนมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.การสำรวจ ติดตามข้อมูล ของผู้ที่จะเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่

1.ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยง

0.00
2 2.เพื่อการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ ของผู้ที่ต้องกักกันตัวฯ เพื่อแยกสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Home Quarantine) ในห้วงระยะเวลา 14 วัน

1.ร้อยละของผู้ที่ต้องกักกันตัวฯ เพื่อแยกสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Home Quarantine) ในห้วงระยะเวลา 14 วัน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ

0.00
3 3.เพื่อป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในชุมชน

๑.ไม่พบผู้ป่วย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙  ในชุมชน

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 9,900.00 5 9,900.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 1.สำรวจ ติดตามข้อมูลของผู้ที่จะเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่ ที่รับผิดชอบ ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขต 0 0.00 0.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ๒.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ 0 0.00 0.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ๓.จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานในการดำเนินงานคัดกรองสุขภาพของผู้ที่ต้องกักกันตัวฯ เพื่อแยกสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Home Quarantine) ในห้วงระยะเวลา 14 วัน 0 0.00 0.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ๔.กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพของผู้ที่ต้องกักกันตัวฯ เพื่อแยกสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Home Quarantine) ในห้วงระยะเวลา 14 วัน 0 9,900.00 9,900.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ๕.กิจกรรมเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อสรุปและประเมินผลโครงการ 0 0.00 0.00

ตามที่สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) มีการแพร่ระบาดใหญ่(Pandemic) หลายพื้นที่ทั่วโลก(ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก, ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๓) โดยกระทรวงสาธารณสุขประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓         ประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ดำเนินการติดตาม การสั่งการ และการดำเนินงานต่อสถานการณ์ของโรค โดยการเฝ้าระวังและติดตาม  กลุ่มเสี่ยง ประกอบกับตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา มีพื้นที่ติดเขตชายแดนประเทศมาเลเซีย มีประชาชน  ในพื้นที่ เดินทางไปทำงาน ต่างพื้นที่และต่างประเทศจำนวนมาก และต้องเดินทางกลับ เนื่องจากมาตรการปิดประเทศ จำเป็นต้องมีการคัดกรองโรค ค้นหา และเฝ้าระวังติดตามผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยง การให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่ผู้ที่เดินทางกลับจากพื้นที่เสี่ยงเพื่อแยกตัวสังเกตอาการและหลีกเสี่ยงการใกล้ชิดผู้อื่น ในที่พำนักหรือที่พักอาศัยจนครบ ๑๔ วัน เพื่อป้องกันการระบาดของโรค         อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีบทบาทและเป็นกำลังสำคัญทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล การค้นหากลุ่มเสี่ยงเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง นำเข้าระบบการรักษา ยิ่งค้นหาเร็ว ตรวจเร็ว รักษาเร็ว ยิ่งทำให้สถานการณ์ดีขึ้น เป็นด่านหน้าออกเคาะประตูบ้าน ให้ความรู้ ย้ำความสำคัญมาตรการการเว้นระยะห่าง ทำให้งานควบคุมและป้องกันโรคในระดับชุมชนมีประสิทธิภาพ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.การสำรวจ ติดตามข้อมูล ของผู้ที่จะเดินทางกลับมาจากพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่       ๒.ผู้ที่ต้องกักกันตัวฯ เพื่อแยกสังเกตอาการ ณ ที่พักอาศัย (Home Quarantine) ในห้วงระยะเวลา 14 วัน ได้รับการการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ       3.การป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในชุมชน

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2563 14:15 น.