กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน
รหัสโครงการ 63-L8287-3-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน
วันที่อนุมัติ 4 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 15 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 22,535.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรุจิรา อาแว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 22,535.00
รวมงบประมาณ 22,535.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

ระบุ

กลุ่มผู้สูงอายุ 82 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญ ของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิตโตยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโต เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหาร ส่งที่พบห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตี้ย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่ เพียงร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาการสมองด้วย ทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานจะต่ำ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศและในขณะเดียวกันในพบว่าเด็กมีน้ำหนักเกินเกณฑ์มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่งรวดเร็ว ความอ้วนก่อให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพตามมามากมาย ตั้งแต่ปัญหาสุขภาพกายไปจนถึงสุขภาพจิตที่ทำให้เด็กขาดความมั่นใจและกลายเป็นโรคซึมเศร้าได้ พ่อแม่ควรใสใจดูแลอาหารการกิน รวมถึงส่งเสริมให้เด็กใส่ใจสุขภาพและเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำหนักเกิน จนเกิดปัญหาด้านสุขภาพได้   เด็กเป็น"ทรัทยากรที่มีคุณค่า"เป็นบุคคลที่ควรได้รับการสนใจ ดูแลจากสังคมและบุคคลรอบตัว เรื่องโภชนาการและพัฒนาการซึ่งเด็กควรจะได้รับตามวัยอย่างถูกต้อง และเหมาะสมโดยเพาะในช่วงอายุ ๓-๕ ปีซึ่งเป็นช่วงของการพัฒนาทางด้านร่างกายและสมองหากเด็กได้รับความรักความอบอุ่นได้รับโภชนาการที่ถูกต้องและได้รับการกระตุ้นพัฒนาการที่ดีแล้วเด็กสามารถพัฒนการไปเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ อาหารที่เข้าไปในร่างกายตลอดจนพัฒนาการของร่างกายอันเกิดจากกระบวนการที่สารอาหารไปเลี้ยงเซลล์เนื้อเยื่อและควบคุมการทำงนของอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ความสามารถในการกระทำกิจกรรมต่างๆการเพิ่มความชำนาญและความซับซ้อนในหน้าที่ของร่างกายพัฒนาการนั้นจะเป็นไปได้ดีเพียงใดก็ต้องอาศัยวุฒิภาวะและการเรียนรู้ของเด็กด้วยในขณะเดียวกันต้องอาศัยประสบการณ์และการฝึกฝนเพื่อให้เกิดทักษะทำให้มีการเรียนรู้เพิ่มเติมและเพิ่มขีดความสามารถที่ดีที่สุดเช่นกัน   ทั้งนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป้โอน ในปีการศึกษาที่ผ่านมา พบเด็กที่มีภาวะโภชนาการไม่ได้ตามเกณฑ์และภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์จำนวนหนึ่ง และยังพบว่าเด็กส่วนใหญ่ไม่ชอบรับประทานผัก ซึ่งปัญหาดังกล่าวนี้เป็นเรื่องที่ทุกฝ่ายควรให้ความร่วมมือในการดูแลเด็กพื่อให้เด็กมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่ดีสมวัยและเพิ่มจำนวนเด็กวัยก่อนเรียนที่รับประทานผักเพิ่มขึ้นซีงผู้กี่ยวข้องสามารถนำวัตถุดิบดังกล่าวมาแปรรูปเป็นอาหารที่เด็กชอบ ให้กับเด็กๆในกิจกรรมการสอนเด็กเรียนรู้และใช้เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะด้านการปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการช่วยกันดูแลส่งเสริมบุตรหลานของตนให้มีพัฒนาการและมีโภชนาการที่ดีเหมาะสมกับวัยต่อไป ดังกล่าวข้างตัน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีภาวะน้ำหนักตามเกณฑ์

เด็กมีภาวะโภชนาการน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ90

92.00
2 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการและการบริโภคกลุ่มอาหารที่ควรรับประทานมากที่สุดตามธงโภชนาการ

ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการและได้รับความรู้ในเรื่องการส่งเสริมพัฒนาการ ร้อยละ 90

90.00
3 เพื่อให้ความรู้ในการประเมินน้ำหนักและส่วนสูงของลูกหลาน

ผู้ปกครองสามารถประเมินน้ำหนักและส่วนสูงของบุตรหลานด้วยตัวเองได้ ร้อยละ 90

90.00
4 เพื่อให้เด็กวัยก่อนเรียนที่รับประทานผักมากกว่า 400 กรัม

มีเด็กวัยก่อนเรียนที่รับประทานผักมากกว่า 400 กรัม ร้อยละ 90

90.00
5 เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการปฎิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เด็กสามารถเรียนรู้และพัฒนาทักษะด้านการปฎิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร้อยละ 90

90.00
6 เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถนำวัตถุดิบมาแปรรูปเป็นอาหารให้เด็กๆในกิจกรรมการสอน

ครูนำวัตถุดิบมาแปรรูปเป็นอาหารให้เด็กๆในกิจกรรมการสอน ร้อยละ 90

90.00
7 เพื่อให้เด็กเรียนรู้โดยการสำรวจสิ่งต่างๆและแหล่งเรียนรู้รอบตัว

เด็กสามารถเรียนรู้โดยการสังเกตและปฏิบัติจริงในสิ่งต่างๆและแหล่งเรียนรู้รอบตัว ร้อยละ 90

90.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 164 22,535.00 3 22,535.00
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 ติดตามภาวะโภชนาการของเด็กภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าโอน 82 1,640.00 1,640.00
7 ส.ค. 63 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการ 82 13,014.00 13,014.00
7 ส.ค. 63 กิจกรรมให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับการปลูกผักออร์แกนิค 0 7,881.00 7,881.00
  1. นำเสนอโครงการเพื่อพิจารณา
  2. ประชุมครูและมอบหมายงเพื่อวางแผนกิจกรรมติดตามภาวะโภชนาการเด็กในศูนย์ฯ
  3. ครู ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เก็บข้อมูลน้ำหนัก ส่วนสูง ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม - พฤศจิกายน พ.ศ.2563 จดทึกข้อมูล พร้อมกับมีการแปรผลสถานการณ์ภาวะโภขนาการ ทุก 3 เดือน
  4. จัดทำเอกสารให้ความรู้ด้านโภชนการและพัฒนทักษะด้านโภชนาการแก่ผู้ปกครอง
  5. จัดอบรมโดยให้วิทยกรมาให้วความรู้เกี่ยวกับการดูแลส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์น้ำหนักเกินเกณฑ์และการบริโภคกลุ่มอาหารที่มีประโยชน์และถูกหลักโภชนการ และเพิ่มความรู้ให้ผู้ปกครองประเมิน น้ำหนักและส่วนสูงของบุตรหลานด้วยตนเอง
  6. ประสานงานปราชญ์ชุมชน กลุ่มผู้ปกครองแกนนำ คณะกรมการ คณะครู ร่วมกันเตรียมและประกอบโรงเรือนและปลูกผัก
  7. เชิญวิทยากรที่มีความรู้ด้านการปลูกผัก ให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง และครูได้ใช้แหล่งเรียนรู้ดังกล่าวหมุนเวียนกันจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้เด็กได้สังเกตุและเรียนรู้จริง สามารถส่งเสริมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยใช้ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
  8. ประสานงานผู้ปกครองในการเข้าร่วมโครงการของศูนย์พัฒนาเต็กเล็ก
  9. จัดให้เด็กสับปลี่ยนหมุนเวียนกันดูแลและสังเตการเปลี่ยนแปลการเจริญเติบโตของผัก และครู/เด็กสามารถนำผักดังกล่าวมาแปรรูปเป็นอาหารในกิจกรรมการสอนตลอดระยะเวลาดำเนินโครงการ 10.นำข้อมูลตลอดระยะเวลาที่ดำเนิโครงการมาสรุปและชี้แจงกับผู้ปกครองถึงการเปลี่ยนแปลงของเด็ก และสรุปผลโครงการเดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2563
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เต็กมีการเจริญเติบโตอย่างเหมาะสมมีน้ำหนักต่ำและส่วนสูงได้ตามเกณฑ์
  2. ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยกับโภชนาการและสามารถมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเต็ก
  3. ผู้เกี่ยวข้องมีทักษะในการประเมินน้ำหนักและส่วนสูงของบุตรหลานด้วยเอง
  4. เด็กมีทัศนะคติที่ดีต่อการรับประทานผักและรับประทานผักมากกว่า ๔๐๐ กรัม
  5. เด็กมีแหล่งเรียนรู้ในการพัฒนาทักษะด้านการปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
  6. ศูนย์ฯมีวัตถุดิบมาแปรูปเป็นอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กๆรับประทานในกิจกรรมการเรียนการสอน
  7. เด็กใช้สถานที่ได้สังเกตเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจริงกับแหล่งเรียนรู้รอบตัว
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 มิ.ย. 2563 14:20 น.