กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน


“ โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ) ”

ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางนวนิตย์ ชูเชิด

ชื่อโครงการ โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ)

ที่อยู่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L-2563-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มีนาคม 2563 ถึง 29 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าบอน อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L-2563-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มีนาคม 2563 - 29 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 117,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการศึกษาโครงสร้างประชากรกลุ่มผู้สูงอายุของประเทศไทยและของจังหวัดพัทลุง ตลอดจนกลุ่มผู้สูงอายุในเขตตำบลป่าบอน พบว่า ประชากรในวัยสูงอายุเริ่มจะมีอายุยืนยาวมากขึ้น และมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถือเป็นการก้าวขึ้นเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว อีกทั้งในปัจจุบันชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านป่าบอนต่ำ มีสมาชิกทั้งหมด จำนวน 172 คน และยังมีจำนวนผู้สูงอายุในหมู่บ้านใกล้เคียงในตำบลเดียวกันอีก จำนวน 800 คน ทางชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านป่าบอนต่ำ ได้เล็งเห็นว่าการพัฒนาและดูแลคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุเป็นเรื่องสำคัญที่จะช่วยให้ผู้สูงอายุในสังคมมีคุณภาพชีวิตที่ดี ไม่เป็นภาระต่อคนรอบข้างและสังคม ซ้ำยังช่วยให้พัฒนาสังคมให้เข้มแข็งอีกแรงหนึ่ง จึงได้วางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมขึ้น โดยจัดตั้งเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุ เพราะตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร และจำนวนผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและมีปัญหาด้านสุขภาพจิตภาวะซึมเศร้าจากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพียงลำพัง ผู้สูงอายุเหล่านี้จะได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการส่งเสริมและสนันสนุนด้านการะัฒนาให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองและสุขภาพผู้สูงอายุด้วยกัน การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุ โดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกถอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง มีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุด โรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารระทางอารมณ์ที่จะเอาความเหงา ความเศร้า ความทุกข์ มาปลดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนรุ่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจ ต้องการความอบอุ่น ต้องการการพูดคุย กรรมการชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต. บ้านป่าบอนต่ำ จึงมีมติเห็นพ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน โดยจัดตั้งขึ้นเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุในสังกันชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต. บ้านป่าบอนต่ำ ชื่อโรงเรียนวัยวุฒิพัฒนา บ้านป่าบอนต่ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพและนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู่อื่นได้
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจใช้เวลาว่างในการทำประโยชน์เพื่อตนเองและสังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 93
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้พัฒนาความรู้ ทักษะการทำงาน ฝึกสมอง และเรียนรู้ร่วมกันอย่างมีความสุข 2 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข 3 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง และทำประโยชน์ให้กับสังคมได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร 93 คน
    0.00

     

    2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพและนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู่อื่นได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมผ่านการทดสอบความรู้ความสามารถตามที่หลักสูตรกำหนด
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจใช้เวลาว่างในการทำประโยชน์เพื่อตนเองและสังคม
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมกิจกรรมตามหลักสูตรไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ของเวลาจัดกิจกรรมตามหลักสูตร
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 93
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 93
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพและนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู่อื่นได้ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจใช้เวลาว่างในการทำประโยชน์เพื่อตนเองและสังคม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวม(โรงเรียนผู้สูงอายุ) จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ L-2563-3

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนวนิตย์ ชูเชิด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด