กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม


“ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก ”

ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจรรยารัตน์ เส็นบัตร

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก

ที่อยู่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-3-05 เลขที่ข้อตกลง 22/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 มิถุนายน 2563 ถึง 22 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองเฉลิม อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3306-3-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 มิถุนายน 2563 - 22 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,965.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองเฉลิม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)   โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งย่อมาจาก “Coronavirus disease 2019 เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมื่อปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเฉียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น ทลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่ผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้พบว่าเป็นเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ ชื่อว่า ไวรัสโคโรน่า ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ ๗ ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส และเมอร์ส ข้อมูลตั้งแต่วันที่ ๓๐ ธันวาคม ๒๕๖๒ - วันที่ 23 มีนาคม ๒๕๖๓ กระทรวงสาธารณสุข แถลงว่า ประเทศไทยผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อรายใหม่เพิ่มขึ้น ทำให้จำนวนผู้ป่วยสะสมอยู่ที่ 721 ราย รักษาหายดีจนกลับบ้านได้แล้ว 52 ราย ยังอยู่ในการดูแลของแพทย์ จำนวน 669 ราย และมีผู้เสียชีวิต 1 ราย  นายทีโดรส อัดฮานอม กีบรีเยซุส ผู้อำนวยการใหญ่องค์การอนามัยโลก (WHO) กล่าวถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ว่า โลกกำลังเข้าสู่ “ดินแดนที่ไม่เคยเผชิญมาก่อน” และอธิบายว่าประชาคมโลกยังไม่เคยเผชิญกับโรคทางเดินหายใจที่ติดต่อในชุมชนได้เช่นนี้ แต่เชื่อว่ามาตรการที่ถูกต้องจะสามารถรับมือการแพร่ระบาดครั้งนี้ได้         และเมื่อวันที่ 10 เม.ย.นายกู้เกียรติ วงศ์กระพันธุ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง เปิดเผยว่า สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด–19 จังหวัดพัทลุง จากการส่งผลตรวจทางห้องปฏิบัติการจำนวน 125 ราย พบว่ามีกลุ่มผู้สัมผัสที่ไม่มีอาการสะสม 18 ราย ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรคสะสม 107 ราย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั้ง 125 รายนั้น ไม่พบเชื้อ 111 ราย และพบติดเชื้อ 14 ราย ซึ่งผลการรักษาผู้ป่วย 14 ราย ปัจจุบันรักษาอยู่ในโรงพยาบาล 8 ราย รักษาหายและกลับบ้านแล้ว 6 ราย โดยจากแถลงการณ์ดังกล่าว ตำบลคลองเฉลิม ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงที่มีผู้ป่วยติดเชื้อโรคโควิด – 19 มากที่สุดจำนวน 5 ราย ของจังหวัดพัทลุงนั้น ผู้นำหมู่บ้าน ผู้นำตำบล ต่างหามาตรการในการป้องกันเพิ่มเติมจากประกาศของจังหวัดพัทลุง โดยมีหมู่บ้านเกือบทุกหมู่บ้านของอำเภอกงหราปิดห้ามเข้า ออก ผู้ที่เข้า ออก ต้องได้รับอนุญาตจากผู้นำหมู่บ้านเท่านั้น ขณะผ่านจุดตรวจสวมหน้ากากอนามัยและต้องวัดไข้ทุกราย หากพบไข้สูงต้องไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อตรวจเช็ดอาการก่อนเข้าหมู่บ้าน ทั้งนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองเฉลิม ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยงในการติดเชื้อ ดังนั้นจึงจัดโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  และเพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  2. เพื่อรับการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจคัดกรอง ป้องกัน ควบคุม
  2. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ           1. เด็กได้มีความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆมีความรู้การป้องกันล้างมือ ใสหน้ากากอนามัยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

 

70 0

2. ตรวจคัดกรอง ป้องกัน ควบคุม

วันที่ 24 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆรู้จักการล้างมือและการใส่หน้ากากอนามัยและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ครูและเด็กมีความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (สวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง)
0.00

 

2 เพื่อรับการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สามารถป้องกัน โดยการสวมหน้ากาก ล้างมือ เว้นระยะห่าง และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการปฎิบัติตนในการป้องกันการติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) เพื่อรับการคัดกรอง เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  แก่เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจคัดกรอง ป้องกัน ควบคุม (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID - 19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ตก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3306-3-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจรรยารัตน์ เส็นบัตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด