โครงการรวมพลัง อสม. บ้านสำนักเอาะควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563
ชื่อโครงการ | โครงการรวมพลัง อสม. บ้านสำนักเอาะควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ปี 2563 |
รหัสโครงการ | 63-L5253-2-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านสำนักเอาะ |
วันที่อนุมัติ | 23 มิถุนายน 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 ตุลาคม 2563 |
งบประมาณ | 50,581.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายจำลอง ประกอบแก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขาแดง อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.505,100.802place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 2233 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคไข้เลือดออกและโรคมาลาเรียเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศส่งผลกระทบต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน โดย รพ.สต.สำนักเอาะเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีการระบาดของโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องทุกปี จึงได้มีการเน้นให้มีการควบคุมโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกเป็นนโยบายหลักของงานสาธารณสุข ในปี 2562 มีจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคมาลาเรียในอำเภอสะบ้าย้อย จำนวน 13 ราย (1 ม.ค. 62 - 8 พ.ค. 62)
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่บ้านสำนักเอาะ ร้อยละของผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่บ้านสำนักเอาะลดลง |
0.00 | |
2 | เพื่อลดความชุกชุมของยุงที่เป็นพาหะโรคติดต่อในพื้นที่บ้านสำนักเอาะ ร้อยละความชุกชุมของยุงที่เป็นพาหะโรคติดต่อในพื้นที่บ้านสำนักเอาะลดลง |
0.00 | |
3 | เพื่อให้ประชาชนบ้านสำนักเอาะ มีความรู้ที่ถูกต้อง ตระหนักและให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ ร้อยละของประชาชนที่มีความรู้ ตระหนัก และให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะเพิ่มขึ้น |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
1 ก.ค. 63 - 30 ก.ย. 63 | พ่นหมอกควัน | 2233 | 50,581.00 | - | ||
รวม | 2,233 | 50,581.00 | 0 | 0.00 |
ขั้นเตรียมการ
1. ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ข้อมูล
2. เขียนแผนงาน/โครงการ เพื่อเสนอขออนุมัติ
3. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
4. ประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินโครงการ กับผู้ใหญ่บ้าน อสม. อบต. ครู และผู้นำชุมชน
5. จัดเตรียมอุปกรณ์ เอกสารต่างๆ สำหรับจัดทำโครงการ
6. ประชาสัมพันธ์โครงการ
ขั้นดำเนินการ
1. กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการพ่นหมอกควันในโรงเรียนก่อนเปิดเทอมในเดือนพฤษภาคม 2563 เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์
2. กิจกรรมที่ 2 ดำเนินการพ่นหมอกควันในหมู่บ้านในช่วงที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เพื่อทำลายยุงตัวแก่ จำนวน 2 ครั้ง ห่างกัน 1 สัปดาห์
3. กิจกรรมที่ 3 ให้แกนนำออกดำเนินการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ เพื่อทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการให้ความรู้ สร้างกระแส และควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ
4. กิจกรรมที่ 4 ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุง ทั้งทางกายภาพ ทางชีวภาพ และทางเคมี
4.1 ทำลายภาชนะน้ำขัง และปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณรอบบ้าน
4.2 ใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำยุง
ขั้นหลังดำเนินการ
1. ประเมินโครงการ
2. สรุปผลโครงการ/รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านสำนักเอาะ ตำบลเขาแดง ลดลง
- ความชุกชุมของยุง พาหะนำโรคติดต่อที่ยุงเป็นพาหะลดลง
- ประชาชน หมู่ที่ 5 บ้านสำนักเอาะ ตำบลเขาแดง มีความรู้ที่ถูกต้อง ตระหนักและให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 มิ.ย. 2563 13:09 น.