โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ ”
ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางบุญเรียง ทองตาล่วง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙
ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1491-02-34 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2563 ถึง 15 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1491-02-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มิถุนายน 2563 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยังไม่วัคซีนในการป้องการการติดโรคได้ โดยเฉพาะในต่างประเทศที่ยังคงมีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในขณะที่บางประเทศยังขาดมาตรการในการป้องกันการแพร่ของเชื้อที่มีประสิทธิภาพ และปัจจุบันการคมนาคมที่มีความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น
และจากมาตรการผ่อนคลายในการควบคุมการแพร่ระระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือโควิด ๑๙ ที่ได้ให้สถานศึกษาได้มีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นั้น ส่งผลให้เด็กนักเรียนถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้เนื่องจากเด็กยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรค และโรงเรียนยังเป็นศูนย์รวมของเด็กๆ ที่อยู่กันจำนวนมากและมาจากหลายพื้นที่และเสี่ยงต่อการเกิดการระบาดของโรคได้
ด้วยความตระหนักดังกล่าว อสม.หมู่ที่ ๒ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือโควิด ๑๙ ในโรงเรียนวัดไทรงามขึ้นโดยของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19)
- ผู้ปกครองรู้จักการเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19)
๓. เด็กนักเรียนมีความรู้และสามารถปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19)
๔. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด ๑๙) ในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค
วันที่ 6 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
- ค่าป้ายไวนิลโครงการ ๑.๒X ๒.๔ ม.จำนวน ๑ แผ่น เป็นเงิน ๕๐๐ บาท
ค่าป้ายไวนิลรณรงค์ ขนาด ๐.๖๐ x ๑.๔๕ ม.จำนวน ๒ แผ่นๆละ ๓๐๐ บาท เป็นเงิน ๖๐๐ บาท
-ค่าอาหารว่าง ๒๐๐ ชุดๆละ ๒๕ บาท เป็นเงิน ๕,๐๐๐ บาท
-ค่าตอบแทนวิทยากร ๓ ชั่วโมงๆละ ๓๐๐ เป็นเงิน ๙๐๐ บาท
ค่าเครื่องตรวจวัดอุณหภูมิ จำนวน ๒ เครื่องๆละ ๒,๕๐๐ บาท เป็นเงิน๕,๐๐๐ บาท
- ค่าเจลแอลอกอฮอล์ล้างมือ จำนวน ๕๐ ขวดๆละ ๒๕๐ เป็นเงิน ๑๒,๕๐๐ บาท
- ถังพ่นน้ำยาฆ่าเชื้อ จำนวน ๑๕ อันๆละ ๑๘๐ บาท เป็นเงิน ๒,๗๐๐ บาท
- ค่าหน้ากากอนามัย จำนวน ๕๐๐ อัน ๆละ ๒๐ บาท เป็นเงิน ๑๐,๐๐๐ บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ในโรงเรียนมีมาตรการการป้องกันโรคโควิด ๑๙ มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรค
500
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1491-02-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางบุญเรียง ทองตาล่วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ ”
ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางบุญเรียง ทองตาล่วง
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1491-02-34 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 มิถุนายน 2563 ถึง 15 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1491-02-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 มิถุนายน 2563 - 15 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยในปัจจุบันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ ยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องยังไม่วัคซีนในการป้องการการติดโรคได้ โดยเฉพาะในต่างประเทศที่ยังคงมีจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งในขณะที่บางประเทศยังขาดมาตรการในการป้องกันการแพร่ของเชื้อที่มีประสิทธิภาพ และปัจจุบันการคมนาคมที่มีความสะดวกรวดเร็ว ซึ่งเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น และจากมาตรการผ่อนคลายในการควบคุมการแพร่ระระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือโควิด ๑๙ ที่ได้ให้สถานศึกษาได้มีการจัดการเรียนการสอนตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ นั้น ส่งผลให้เด็กนักเรียนถือเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการระบาดของโรคได้เนื่องจากเด็กยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากโรค และโรงเรียนยังเป็นศูนย์รวมของเด็กๆ ที่อยู่กันจำนวนมากและมาจากหลายพื้นที่และเสี่ยงต่อการเกิดการระบาดของโรคได้ ด้วยความตระหนักดังกล่าว อสม.หมู่ที่ ๒ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือโควิด ๑๙ ในโรงเรียนวัดไทรงามขึ้นโดยของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลนาตาล่วง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19)
- ผู้ปกครองรู้จักการเฝ้าระวังเกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19) ๓. เด็กนักเรียนมีความรู้และสามารถปฏิบัติตามแนวทางการป้องกันโรคไวรัสโคโรน่า2019 (โควิด-19) ๔. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด ๑๙) ในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียนมีมาตรการการป้องกันโรคโควิด ๑๙ มีวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรค
|
500 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เด็กนักเรียน ผู้ปกครองและดำเนินการตามมาตรการป้องกันโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ หรือ โควิด -๑๙ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1491-02-34
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางบุญเรียง ทองตาล่วง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......