กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ ”
ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายจิรายุ พลอยประดับ




ชื่อโครงการ โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1491-02-35 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 14 กรกฎาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1491-02-35 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 14 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารนับว่าเป็นปัจจัยหนึ่งซึ่งมีความสำคัญต่อสุขภาพของประชาชน และอาหารที่ประชาชนบริโภคนั้น    จะต้องปราศจากเชื้อโรคอาหารเป็นพิษหรือปนเปื้อนจากเชื้อโรค และถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร คือ การจัดการและควบคุมปัจจัยต่าง ๆ เพื่อให้อาหารสะอาด ปลอดภัยจากเชื้อโรค และสารเคมีที่เป็นพิษซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของผู้บริโภค เช่น อาหาร ผู้สัมผัสอาหาร สถานที่ทำ ประกอบ ปรุง และจำหน่ายอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ สัตว์และแมลงนำโรค ตลาด หรือ ตลาดสด และร้านอาหาร จัดเป็นสถานที่ซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้า และเป็นศูนย์กลางวิถีชุมชนที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาช้านาน ทั้งผู้ขายของ ผู้ช่วยขายของ ผู้ส่งสินค้า ผู้ซื้อสินค้า และเป็นแหล่งที่มีการประกอบกิจกรรมต่าง ๆ มากมาย จึงเป็นแหล่งที่ทำให้เกิดของเสีย และมลพิษจำนวนมาก เช่น ขยะ น้ำเสียกลิ่นเหม็น เสียงดัง และควันจากการประกอบอาหาร เป็นต้น ซึ่งตลาดและร้านอาหารที่ไม่มีระบบการควบคุมดูแล และกำจัดของเสียนั้น จะทำให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญแก่ประชาชน จากที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่าหากไม่มีการจัดที่ดี ที่ถูกลักษณะ ตลาดก็จะกลายเป็นแหล่งที่เพาะพันธุ์เชื้อโรค
เทศบาลตำบลนาตาล่วงมีร้านอาหารที่อยู่ในการดูแลของเทศบาลจำนวน ร้าน และมีตลาดที่อยู่ในการดูแลของเทศบาลจำนวน 1 ตลาด คือ ตลาดใต้สะพาน ซึ่งจัดเป็นตลาดประเภทที่ 2 จากการสำรวจ พบว่า ในด้านสุขลักษณะทั่วไป ตลาดและบริเวณโดยรอบไม่มีน้ำขังเฉอะแฉะ มีการจัดวางสินค้า สิ่งของ วัสดุอุปกรณ์เป็นระเบียบเรียบร้อยไม่กีดขวางทางเดิน แต่ทางเดินภายในตลาดมีความกว้างไม่ถึง 2 เมตร ไม่มีหมายเลขแผงและชื่อที่อยู่ผู้ขายติดตั้งประจำ  แผง ด้านการจัดการมูลฝอย ไม่มีที่รองรับมูลฝอย ผู้ค้าต้องดำเนินการเก็บมูลฝอยกลับเอง และไม่มีการแยกประเภทมูลฝอย ด้านการจัดหาน้ำดื่มน้ำใช้ ไม่มีที่เก็บสำรองน้ำไว้ใช้ให้เพียงพอต่อการใช้งานในแต่ละวัน ด้านการจัดการน้ำเสีย  รางระบายน้ำในบางจุดมีเศษอาหารและเศษขยะอุดตัน ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล ภายในห้องส้วมมีกลิ่นเหม็น อากาศถ่ายเทไม่สะดวก ไม่มีสบู่ล้างมือ มีการทำความสะอาดส้วมนาน ๆ ครั้ง และจำนวนห้องส้วมไม่เพียงพอต่อจำนวนประชาชนที่มาเดินตลาด ด้านการป้องกัน ควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค พบแมลงวันภายในตลาดและไม่มีการป้องกันควบคุมสัตว์และแมลงพาหะนำโรค การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ไม่มีการจัดระเบียบที่จอดรถ และเส้นทางการเดินรถเข้า-ออก และในด้านสุขวิทยาส่วนบุคคลของผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาด ผู้ขายของและผู้ช่วยขายของไม่สวมใส่เสื้อมีแขน ไม่สวมถุงมือ หมวกหรือเน็ทคลุมผม ผู้ขายของและผู้ช่วยของใช้มือสัมผัสอาหารปรุงสุกโดยตรง ส่วนใหญ่ไม่มีอุปกรณ์หยิบ จับ คีบอาหาร และไม่มีการจัดอบรมผู้ขายของและผู้ช่วยขายของในตลาด ในด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม/สุขภาพอนามัย และจากการสุ่มสำรวจร้านอาหารในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบลนาตาล่วงที่ต้องกำกับดูแล พบว่าร้านอาหารทุกร้าน ผู้ปรุงและผู้เสิร์ฟอาหารยังไม่เคยได้รับการอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารในร้านอาหาร ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลนาตาล่วง จึงดำเนินการจัดทำโครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ใส่ใจผู้บริโภค เพื่อให้ตลาดนัดใต้สะพาน และร้านอาหารของเทศบาลตำบลนาตาล่วง เป็นตลาดสดที่มีมาตรฐาน ตลาดสดน่าซื้อ ผู้จำหน่ายสินค้าในตลาดสดได้มีพื้นที่จำหน่ายสินค้า และจำหน่ายสินค้าเป็นไปตามหมวดหมู่ ของประเภทสินค้าที่ทางเทศบาลกำหนด แก้ไขปัญหาการวางสินค้าไม่เป็นระเบียบพร้อมปฏิบัติตัวในการจำหน่ายสินค้าได้อย่างถูกต้อง ตามหลัก รวมถึงผู้จำหน่ายสินค้ามีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางการพัฒนาตลาดสด และร่วมพัฒนาทั้งด้านสถานที่จำหน่ายสินค้าด้านการปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลของผู้จำหน่ายและผู้ช่วย พร้อมการนำสินค้าที่มีคุณภาพมาจำหน่าย และร้านอาหารในเขตที่รับผิดชอบ เป็นร้านอาหารที่ได้รับมาตรฐาน Clean Food Good Taste ส่งผลให้ผู้บริโภคได้สินค้าและอาหารที่สะอาดปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้คววามรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ประกอบการในตลาดนัดใต้สะพาน และผู้ประกอบการร้านอาหารมีความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป   ปรับใช้ได้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอาหาร
    1. ผู้บริโภคได้บริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่สะอาด และปลอดภัย ไม่ปนเปื้อนจากสารเคมีและเชื้อโรค
    2. ลดอัตราการเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการปนเปื้อนในอาหารและเครื่องดื่มของผู้บริโภค

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้คววามรู้

วันที่ 10 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสถานประกอบการ  อบรมให้ความรู้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ประกอบการมีความรู้ด้านการสุขาภิบาลอาหารมากขึ้น

 

40 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้คววามรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตลาดสะอาด ร้านอาหารปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1491-02-35

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจิรายุ พลอยประดับ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด