กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางศิริสรณ์ เอกะโรหิต ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-13 เลขที่ข้อตกลง 18/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,976.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ที่กำลังแพร่ระบาดไปในหลายประเทศทั่วโลก อีกทั้งยังพบรายงานผู้ป่วยทั่วโลก จำนวน ๔,๘๙๑,๓๒๖ คน เสียชีวิตแล้ว จำนวน ๓๒๐,๑๓๔ ราย ในประเทศไทย พบผู้ป่วยยืนยัน จำนวน ๓,๐๓๑ ราย เสียชีวิตแล้ว ๕๖ ราย (ข้อมูลศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด ๑๙ (ศบค.) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๖๓) โดยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ส่วนในประเทศไทย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ หรือโรคโควิด ๑๙ (Coronavirus Disease ๒๐๑๙ (COVID -๑๙)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โดยประกาศนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นมา ซึ่งครม.ได้มีมติในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๓ เห็นชอบมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ข้อ ๒ ยับยั้งการระบาดภายในประเทศ ข้อ ๒.๔ งดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย (สถาบันการศึกษา) โรงเรียน โรงเรียนนานาชาติ และสถาบันกวดวิชา หรือปรับวิธีการ เรียนการสอนเป็นทางออนไลน์ และให้สถานศึกษาดำเนินการป้องกันโรคตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด เมื่อสถานศึกษากลับมาเปิดสอนตามปกติ ประกอบกับกระทรวงศึกษาธิการ ได้ออกประกาศ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓ เรื่อง การเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการ โดยกำหนดให้เปิดเรียน ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
      โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ เป็นสถานศึกษาขนาดเล็ก เปิดการเรียนการสอนระดับชั้นอนุบาล ๒ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่๖ จำนวน ทั้งสิ้น จำนวน ๖๐ คน เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและถือปฏิบัติตามมาตรการหรือแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด จึงขอเสนออนุมัติ “โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมรณรงค์คัดกรอง
  2. รณรงค์ทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมภายในโรงเรียน “Big Cleaning Day”
  3. จัดประชุมวางแผนการดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน
  4. กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้
  5. กิจกรรมอื่นๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (๑)  บุคลากร ครู และนักเรียนสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ได้ (๒) สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ในโรงเรียนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของบุคลากร ครู และนักเรียนสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยขณะอยู่ในสถานศึกษา - ร้อยละ ๑๐๐ บุคลากร ครู และนักเรียนผ่านจุดคัดกรอง - ร้อยละ ๙๐ สามารถจัดกิจกรรม “Big Cleaning Day”
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-๑๙) ได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์คัดกรอง (2) รณรงค์ทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมภายในโรงเรียน “Big Cleaning Day” (3) จัดประชุมวางแผนการดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน (4) กิจกรรมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ (5) กิจกรรมอื่นๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019(COVID-19)โรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2563-L5275-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศิริสรณ์ เอกะโรหิต ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งเลียบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด