กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายชยธร แก้วลอย

ชื่อโครงการ โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5221-2563-01-03 เลขที่ข้อตกลง 08/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 ธันวาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5221-2563-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,854.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสัมพันธ์ กับสุขภาพโดยรวมของร่างกาย หากสุขภาพช่องปากและฟันดี ก็ย่อมส่งผลต่อการมีสุขภาพร่างกายที่ดีตามมา ซึ่งปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นอีกปัญหาที่สำคัญที่ควรได้การส่งเสริม ป้องกันมากกว่าจะเน้นทางด้านการรักษาและฟื้นฟู ซึ่งใช้งบประมาณในการรักษาที่มากกว่า และปัญหาสุขภาพช่องปากของนักเรียนก็ต้องยิ่งดำเนินการ เนื่องจากเด็กนักเรียนมีฟันแท้ข้นมาในช่องปากผสมกับฟันน้ำนมถ้าหากมีอาการปวดฟันผู้ปกครองอาจไม่ทราบว่าเป็นฟันแท้หรือฟันน้ำนม แต่อย่างไรก็ตามหากนักเรียนมีปัญหาสุขภาพช่องปาก ก็จะส่งผลต่อร่างกาย และพัฒนาการด้านการเรียนรู้ ที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด และรำคาญ ไม่เหมาะที่จะเรียนรู้หรือเรียนไม่รู้เรื่อง ผลการสํารวจสภาวะสุขภาพช่องปากในระดับประเทศ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2555 พบว่าสถานการณ์การเกิดโรคฟันผุในฟันแท้ของเด็กประถมศึกษา เป็นร้อยละ 52.3 ค่าเฉลี่ย ฟันผุถอน อุด (DMFT) มีแนวโน้มลดลงเป็น 1.3 ซี่ต่อคน จากเดิมที่คงที่มาตลอดที่ 1.5 ซี่ต่อคน ซึ่งความชุกของโรคมีปริมาณลดลงอย่างชัดเจนในเขตเมือง และเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับผลการสํารวจครั้งที่ผ่านๆมาจะพบว่าสภาวะโรคฟันผุลดลงเล็กน้อย ส่วนสภาวะเหงือกอักเสบนั้นยังคงเป็นปัญหาแม้ว่าจะพบสภาวะเหงือกอักเสบลดลงจากร้อยละ 58.9 ในปี2550 เป็นร้อยละ 50.3 แต่เกือบครึ่งหนึ่ง(20.7)จะมีสภาวะเหงือกอักเสบโดยมีหินน้ำลายร่วมด้วย เพื่อให้นักเรียนเกิดความตระหนักถึงการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปาก ให้มีฟันแท้ไว้ใช้งานตลอดมีกิจกรรมต่างๆ ในการดูแลให้เด็กได้แปรงฟันให้สะอาดในเวลาที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการจัดการสิ่งแวดล้อมและปรับพฤติกรรมลดการบริโภคอาหารที่เป็นอันตรายต่อทันตสุขภาพสำหรับนักเรียนที่ฟันแท้ผุไปแล้วและสามารถรักษาด้วยการอุดฟันได้ บุคลากรทางทันตกรรมจะมีการลงพื้นที่หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่ให้บริการในโรงเรียนในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวทำได้โดยการใช้รูปแบบการให้บริการทันตกรรมครบวงจรการตรวจสุขภาพช่องปาก การให้สุขศึกษา บริการทันตกรรม(อุดฟันแท้ , ขูดหินน้ำลาย)การแปรงฟันที่ถูกวิธี และการติดตามประเมินผลเพื่อให้การรักษารวมทั้งการป้องกันฟันแท้ผุโดยการเคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึกที่โรงเรียน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าบอนได้เห็นความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากในเด็กวัยเรียน จึงได้จัดทำโครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี ให้เด็กนักเรียนมีพัฒนาการสมวัยด้านทันตสุขภาพ คือ ลดภาวะสูญเสียฟันแท้ก่อนวัย และมีฟันแท้ ไว้ใช้งานได้นานที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  2. 2. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้น อ.1 - ป.6
  3. 3. เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม (เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  2. 2. กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปาก
  3. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมนักเรียนในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 540
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 540

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดี ลดการสูญเสียก่อนวัยอันควร


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและการแปรงฟันอย่างถูกวิธี
วันที่ 13 สิงหาคม 2563 โรงเรียนวัดคลองเป็ด วันที่ 17 สิงหาคม 2563 โรงเรียนบ้านรับแพรก วันที่ 18 สิงหาคม 2563 โรงเรียนวัดศาลาหลวงล่าง วันที่ 19 สิงหาคม 2563 โรงเรียนท่าบอนมิตรภาพที่ 90 วันที่ 24 สิงหาคม 2563 โรงเรียนวัดศาลาหลวงบน วันที่ 31 สิงหาคม 2563 โรงเรียนบ้านมาบบัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลนักเรียน ที่เข้าร่วมกับอบรมเชิงปฏิบัติอบรมให้ความรู้ด้านทันสุขศึกษา การให้คำแนะนำเบื้องต้นในการส่งเสริมทันตสุขภาพและการแปรงฟันที่ถูกวิธี พบว่านักเรียนในเขตรับผิดชอบตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา  ได้เข้ารับการอบรมเชิงทฤษฏีและปฏิบัติ จำนวน 528  คน  ร้อยละ  97.77

 

540 0

2. 2. กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปาก

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้น อ.1-ป.6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ข้อมูลนักเรียน ที่ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก พบว่านักเรียนในเขตรับผิดชอบตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา  จำนวน 528  คน  ร้อยละ  97.77

 

540 0

3. กิจกรรมให้บริการทันตกรรมนักเรียนในโรงเรียน

วันที่ 13 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ให้บริการทันตกรรม ( เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก / อุดฟันแท้ / ถอนฟัน ) และเคลือบฟลูออไรด์ ป้องกันผุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนได้รับการรักษาและส่งต่อ ในกรณีมีปัญหาสุขภาพช่องปาก 21 คน ร้อยละ  100 2.นักเรียนชั้น ป.1 – ป.6 ได้รับการป้องกันฟันแท้ซี่แรกผุ(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก) จำนวน 141 คน ร้อยละ100

 

540 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

เด็กนักเรียนมีพัฒนาการสมวัยด้านทันตสุขภาพ คือ ลดภาวะสูญเสียฟันแท้ก่อนวัยและมีฟันแท้ไว้ใช้งานได้นานที่สุด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนมีความรู้ด้านทันตสุขภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
449.00 449.00 420.00

 

2 2. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้น อ.1 - ป.6
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
540.00 540.00 528.00

 

3 3. เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม (เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ
ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพฟันได้รับการให้บริการและส่งต่อร้อยละ 100 2. นักเรียนชั้นป.1ได้รับการป้องกันฟันแท้ซี่แรกผุ(เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก) ร้อยละ 100
95.00 100.00 141.00

นักเรียนได้รับการบริการด้านทันตกรรม จำนวน 141 คน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1080 1056
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 540 528
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 540 528

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ได้มีความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี (2) 2. เพื่อตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก แก่เด็กนักเรียนชั้น อ.1 - ป.6 (3) 3. เพื่อให้นักเรียนได้รับบริการทันตกรรม (เคลือบหลุมร่องฟันแท้ลึก/อุดฟันแท้/ถอนฟัน) ในโรงเรียน และ สถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพและแปรงฟันอย่างถูกวิธี (2) 2. กิจกรรมตรวจสุขภาพช่องปาก (3) กิจกรรมให้บริการทันตกรรมนักเรียนในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี

รหัสโครงการ L5221-2563-01-03 รหัสสัญญา 08/2563 ระยะเวลาโครงการ 15 กรกฎาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ ยิ้มสดใส เด็กท่าบอนฟันดี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5221-2563-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชยธร แก้วลอย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด