กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านสุขาภิบาลอาหารเพิ่มมากขึ้น และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบการได้อย่างเป็นรูปธรรม
    • ป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภคได้มากขึ้น
    • คุ้มครองผู้บริโภค

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างทะเบียนผู้ประกอบการร้านอาหารภายในเขตเทศบาลเมืองสะเดา ให้เป็นระบบสะดวกต่อการค้นหา และตรวจสอบ
ตัวชี้วัด : มีทะเบียนผู้ประกอบการร้านอาหารอย่างเป็นระบบ สามารถตรวจสอบ ค้นหา รายละเอียดของผู้ประกอบการร้านอาหารได้สะดวก รวดเร็ว
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองสะเดา
ตัวชี้วัด : ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจ ในด้านสุขาภิบาลอาหาร สามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบการและสามารถทำให้สถานประกอบการร้านอาหารของตนเองผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารสะอาด รสชาติอร่อย (Clean food good taste) อย่างน้อยร้อยละ 80 จากผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด
0.00

 

3 เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ประกอบการร้านขายปาท่องโก๋ 5
ผู้ประกอบการร้านขายไก่ทอด 10
ผู้ประกอบการร้านอาหาร (ตรวจเกณฑ์ประเมินอาหารสะอาด) 45

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างทะเบียนผู้ประกอบการร้านอาหารภายในเขตเทศบาลเมืองสะเดา ให้เป็นระบบสะดวกต่อการค้นหา และตรวจสอบ (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจด้านการจัดการสุขาภิบาลอาหารแก่ผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองสะเดา (3) เพื่อป้องกันการปนเปื้อน และการเกิดสารอันตรายในอาหารไปสู่ผู้บริโภค

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เขียนโครงการ และเสนอโครงการเพื่ออนุมัติโครงการ (2) ประชุมวางแผนการดำเนินงาน (3) ลงพื้นที่ตรวจประเมินครั้งที่ 1 (4) จัดอบรมผู้ประกอบการร้านอาหาร (5) ลงพื้นที่ตรวจประเมินครั้งที่ 2 (6) มอบเกียรติบัตร และป้าย (7) สรุปผลการดำเนินโครงการและจัดทำรายงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh