กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 1. หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า ร้อย 20
479.00 479.00 20.72

จำนวนเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ณ ปีงบประมาณ 2562 จำนวน 1,607 คน ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ในสถานบริการ รพ.สต.ท่าบอน คิดเป็นร้อยละ 14.69 ในชุมชน คิดเป็นร้อยละ 6.04 ในปีงบประมาณ 2563 จำนวน 333 คน คิดเป็นร้อยละ 20.72 ไม่พบเซลล์ผิดปกติ

2 2. เพื่อค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก
ตัวชี้วัด : 2. หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ที่ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และพบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
479.00 479.00 100.00

ไม่พบความผิดปกติ ทั้งหมด

3 ๓. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก ๕ ปี
ตัวชี้วัด : ๑. หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง อย่างน้อย 5 ปี
479.00 479.00 20.72

333 ราย

4 ๔. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 30 – 60 ปี ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ 30 – 60 ปี ที่ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และพบเซลล์ผิดปกติได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
479.00 479.00 100.00

ไม่พบความผิดปกติ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 479 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 167 167
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 312 333
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.  เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์  อายุ 30 – 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกต่อเนื่อง (2) 2.  เพื่อค้นหาความผิดปกติของเซลล์มะเร็งที่ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มแรก (3) ๓.  เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์  อายุ 30 – 60 ปี ตระหนักในการตรวจมะเร็งปากมดลูกทุก ๕ ปี (4) ๔.  เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์  อายุ 30 – 60 ปี ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ตำบลท่าบอน เพื่อเป็นครู ก. ในการให้ความรู้ กระตุ้นและชักชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจ (2) กิจกรรมในการลงพื้นที่เพื่อตรวจมะเร็งปากมดลูกที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh