กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
น.ส.สุนีย์ พิทักษ์สุข

ชื่อโครงการ โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-02-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7252-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยถือเป็นปัญหาหลักด้านมลพิษของประเทศไทยในปัจจุบันเนื่องจากจำนวนของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นพร้อมกับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมซึ่งส่งผลให้รูปแบบ การดำรงชีวิตของประชาชนจากรูปแบบชุมชนชนบทซึ่งผลิตขยะมูลฝอยเพียงเล็กน้อยต่อวันกลายเป็นการดำรงชีวิตแบบชุมชนเมืองหรือชุมชนอุตสาหกรรมซึ่งก่อให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยต่อวันเป็นจำนวนมากรวมถึงข้อจำกัดด้านพื้นที่ในการกำจัดขยะมูลฝอยซึ่งในปัจจุบันมีพื้นที่ที่จะสามารถกำจัดขยะมูลฝอยได้น้อยลงทุกวันรวมทั้งการต่อต้านจากประชาชนที่อาศัยอยู่โดยรอบสถานที่กำจัดขยะมูลฝอยจึงส่งผลให้ความรุนแรงของปัญหาด้านการจัดการขยะมูลฝอยรุนแรงเพิ่มมากขึ้น ในคราวการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2559 คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ. 2559 – 2564) เพื่อใช้เป็นกรอบ และทิศทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยและขยะอันตรายของประเทศให้เร่งรัดการดำเนินโครงการเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยทั้งในพื้นที่นำร่องและในระดับชุมชนและหมู่บ้านภายใต้ RoadMapการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติได้มีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2557ให้เกิดเป็นรูปธรรมโดยเร็วเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับรู้ผลสัมฤทธิ์และตระหนักถึงความสำคัญเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ในการนี้ คณะอสม. ชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์จึงขอมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะอินทรีย์ที่ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น รบกวน และส่งผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม อีกทั้งยังเป็นการสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนในชุมชนดูแล/จัดการกับปัญหาขยะที่เกิดจากครัวเรือนได้อีกด้วย จึงได้รวมตัวกันดำเนินกิจกรรมลดขยะอินทรีย์และขยะอันตราย เพื่อสุขภาพของคนในชุมชน จึงขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองสะเดา ให้ดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะในชุมชนและได้ดำเนินการจัดตั้งถังหมักในชุมชน ในปีงบประมาณที่ผ่านมาซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นขยะที่สามารถนำไปรีไซเคิลได้แต่ในส่วนของขยะอินทรีย์และอันตราย ยังไม่มีแนวทางในการบริหารจัดการ และเป็นขยะที่มีจำนวนมากในชุมชน ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อชุมชน และยังช่วยในการลดปัญหาสุขภาพ ทั้งยังส่งเสริมให้แต่ละครัวเรือนมีการจัดการขยะ ที่ต้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพื่อไม่ให้ขยะดังกล่าวตกค้าง ทำให้ชุมชนสะอาด น่าอยู่ และไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์โรคในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
  2. เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
  4. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. วางแผนรายละเอียดโครงการ
  2. เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ
  3. ประสานงานการดำเนินโครงการ/ประชาสัมพันธ์โครงการ
  4. ดำเนินโครงการ โดยมีกิจกรรมดังนี้
  5. สรุปผลการดำเนินโครงการ
  6. รายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในชุมชนได้มีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ 2.ปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีลดน้อยลง 3.ประชาชนได้มีกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน 4.ประชาชนในชุมชนสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563

วันที่ 15 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. บริหารจัดการขยะโดยชุมชน
  2. เชิงปฏิบัติการคัดแยกขยะเปียก และขยะอันตรายโดยชุมชน
  3. จัดกิจกรรมหน้าบ้านหน้ามอง ในครัวของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนในชุมชนได้มีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะ 2.ปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธีลดน้อยลง 3.ประชาชนได้มีกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน 4.ประชาชนในชุมชนสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์สร้างจิตสำนึกให้กับประชาชนในการคัดแยกขยะ (2) เพื่อลดปริมาณขยะก่อนนำเข้าสู่กระบวนการกำจัดขยะอย่างถูกวิธี (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการขยะโดยชุมชน (4) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตพร้อมเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ครัวเรือนและชุมชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนรายละเอียดโครงการ (2) เขียนโครงการและขออนุมัติโครงการ (3) ประสานงานการดำเนินโครงการ/ประชาสัมพันธ์โครงการ (4) ดำเนินโครงการ โดยมีกิจกรรมดังนี้ (5) สรุปผลการดำเนินโครงการ (6) รายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการจัดการขยะเปียกและขยะอันตรายในชุมชนกาญจนประชารุ่งโรจน์ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7252-02-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.ส.สุนีย์ พิทักษ์สุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด