กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
อบรมเสริมสร้างความเข้าใจปัญหาท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น17 กุมภาพันธ์ 2563
17
กุมภาพันธ์ 2563รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน เทศบาลตำบลพยุหะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

1.ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.5 เมตรx2.5 เมตร  เป็นเงิน 600 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 520 คนๆละ2 มื้อ ๆละ 25 บาท  เป็นเงิน 26,000 บาท 3.ค่าอาหารว่าและเครื่องดื่มเจ้าหน้าที่ผู้ดำเนินการจำนวน 3 วันๆละ 10 คนๆละ 2 มื้อ เป็นเงิน 1,500 บาท 4.ค่าอาหารกลางวันผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 520 คนๆละ 75 บาท  เป็นเงิน 39,000 บาท 5.ค่าอาหารกลางวันเจ้าหน้าผู้ดำเนินการจำนวน 3 วันๆละ 10 คน 75 บาท เป็นเงิน 2,250 บาท 6. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม เป็นเงิน 5000 บาท 7.ค่าวิทยากร จำนวน 3 วันๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 10,800 บาท 8.ค่าสถานที่จัดกิจกรรมโครงการ จำนวน 3 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท

-บรรยายสถานการณ์การวัยรุ่นในประเทศไทยและแนวโน้มของการเกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่น
-บทบาทที่แตกต่างกันของชายและหญิงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการคุมกำเนิด -กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันตนเองจาก พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ปัญหาหรือผลกระทบที่เกิดจากการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
-กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการป้องกันตนเองจากการท้องไม่พร้อมและผลกระทบจากการท้องไม่พร้อมในวัยรุ่น

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

วัยรุ่นรู้และเข้าใจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาการต้้งครรภ์โดยไม่ได้ป้องกัน มากขึ้น ทำให้พวกเขามีวิธีการดูแลตัวเองและป้องกันตนเองอย่างถูกวิธีและก่อนวัยอันควร

สำรวจพฤติกรรมเสี่่ยงของวัยรุ่นในโรงเรียนมัธยมเป็นเงิน17 กุมภาพันธ์ 2563
17
กุมภาพันธ์ 2563รายงานจากพื้นที่ โดย จนท.กองทุน เทศบาลตำบลพยุหะ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติ

สำรวจพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นในโรงเรียนมัธยม
  1.ค่าจ้างเก็บบัึยทึกข้อมูลและลงโปรแกรมพร้อมแปรผลข้อมูลการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยง ชุดละ 20 บาท จำนวน 520 ชุดๆละ 10 แผ่น เป็นเงิน 10,400 บาท   2. ค่าถ่ายเอกสาร แบบสำรวจพฤกรรมเสี่ยงชุดละ 4 บาท จำนวน 520 ชุดๆละ 10 เป็นเงิน 2,080 บาท

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมตอนปลาย เขตเทศบาตตำบลพยุหะ ได้รับการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ มากกว่าร้อยละ 90 2.นักเรียนที่มีความเสี่ยงได้รับการช่วยเหลือ มากกวว่าร้อยละ 50 3.การนำข้อมูลใช้ประโชน์เพื่อการวางแผนและจัดกิจกรรมแก้ไขปัญหาตามบริบทของพื้นที่