กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • เชิงปริมาณ เมื่อเทียบกับกลุ่มเป้าหมาย  คิดเป็น (102/100)% เท่ากับ 102% เมื่อเทียบกับงบประมาณที่ใช้    คิดเป็น (24,200/28,500)% เท่ากับ 87%
    • เชิงคุณภาพ
      8.1 ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบายและมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติดตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สามารถนำไปขยายผลหรือขับเคลื่อนในพื้นที่ได้อย่าง  มีประสิทธิภาพ 8.2 ทำให้ประชาชนได้เห็นได้เห็นความสำคัญของพิษภัยและโทษยาเสพติด เข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด 8.3 ทำให้หน่วยงานของรัฐ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/ภาคประชาชน/ภาคเอกชน ได้มีโอกาสเรียนรู้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 8.4 ทำให้เกิดเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดมากขึ้น
  1. ปัญหาอุปสรรค
    • ผู้เข้าร่วมโครงการ
    • การดำเนินงานล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด เนื่องด้วยมาตราการการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า
  2. ข้อเสนอแนะ เห็นควรเตรียมรับกับการดำเนินโครงการในสถานการณ์การป้องกันไวรัสโคโรน่า

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : - สมาชิกชุมชนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา คณะกรรมการชุมชน กลุ่มสตรีชุมชน อสม. เครือข่ายการทำงานยาเสพติดในพื้นที่ประกอบด้วย เช่น ตัวแทนโรงพยาบาลอำเภอสะเดา , ตัวแทนสถานีตำรวจภูธรสะเดา , ตัวแทนตำรวจตระเวนชายแดน ค่าย 437 , ตัวแทนโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองสะเดา , ตัวแทนกองร้อย ร.5021 , ตัวแทนกองทุนแม่ของแผ่นดิน มีส่วนร่วมในกิจกรรม ไม่ต่ำกว่า 100 คน - คดียาเสพติดในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดาลดลง
0.00

 

3 เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจนโยบาย และมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ยาเสพติด ตามแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (2) เพื่อให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด (3) เพื่อให้เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (4) เพื่อสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการสัมมนาทุกกลุ่มเป้าหมายอย่างครบถ้วน (2) กำหนดตารางการหัวข้อสัมมนา ระยะเวลา สถานที่ ให้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระที่จะให้ความรู้กับกลุ่มเป้าหมาย (3) จัดสัมมนา และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โทษของยาเสพติด (4) ดำเนินงานตามโครงการ (5) สรุป รายงานผลการดำเนินงาน เพื่อเก็บเป็นข้อมูลในการจัดโครงการครั้งต่อไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh