ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ ”
ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมานะ แวหะมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ
ที่อยู่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4148-2-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4148-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาอุบัติเหตุอุบัติภัยและโรคไม่ติดต่อ ที่กลายเป็นปัญหาหลักและเป็นสาเหตุของการเพิ่มจำนวนผู้พิการจากโรคดังกล่าวแล้ว ผู้พิการเหล่านั้นยังต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับสภาพความพิการและที่สำคัญยังเป็นภาระของครอบครัว รวมทั้งของสังคมที่ต้องรับผิดชอบดูแลคนพิการเหล่านี้อีกด้วย
ซึ่งยังมีคนพิการอีกเป็นจำนวนพอสมควรที่ยังไม่ได้รับการดูแลด้านสุขภาพและไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่รัฐจัดให้แม้ว่าในระยะที่ผ่านมาจะมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔และมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบดูแลคนพิการโดยเฉพาะแล้วก็ตามอาจเป็นเพราะคนพิการไม่มีค่าใช้จ่ายเพียงพอหรือเกรงว่าจะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากในการดูแลรักษาสุขภาพหรือเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิของคนพิการที่ได้รับซึ่งตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ได้ให้สิทธิประโยชน์แก่คนพิการ โดยเฉพาะการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการไว้อย่างชัดเจนแต่ก็ยังปรากฏว่าคนพิการส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสิทธิประโยชน์ ในพื้นที่ตำบลบาโร๊ะ มีคนพิการ ทั้งหมดจำนวน ๒๔o คน แยกออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ ๑. ความพิการทางการมองเห็น จำนวน ๑๕ คน
๒. ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย จำนวน ๑๙ คน ๓. ความพิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน ๑๒๑ คน ๔. ความพิการทางจิตหรือพฤติกรรม จำนวน ๒๕ คน ๕. ความพิการทางสติปัญญา จำนวน ๒๘ คน ๖. ความพิการทางการเรียนรู้ จำนวน ๒๒ คน ๗. ความพิการทางออทิสติกจำนวน ๑o คน ผู้พิการติดเตียง จำนวน ๗ คน ผู้พิการติดบ้านจำนวน ๑๘ คน ชมรมกลุ่มอาสาดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสตำบลบาโร๊ะ จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลช่วยเหลือผู้พิการให้ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างทั่วถึงตรงกับความต้องการที่จำเป็นของคนพิการทั้งนี้ในการดูแลด้านสุขภาพของคนพิการครอบคลุ่มถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีโอกาสได้ใช้ความสามารถที่มีอยู่ได้อย่างเต็มศักยภาพดังนั้นเพื่อสนับสนุนให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพดังกล่าว ทางชมรมกลุ่มอาสาดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสตำบลบาโร๊ะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชน รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องให้สามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตในสังคมอย่างเหมาะสมต่อไปได้โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งผู้ให้บริการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันเกิดความเข้าใจสภาพปัญหาข้อจำกัดของคนพิการและมองเห็นถึงศักยภาพขีดความสามารถของคนพิการให้นำมาใช้ในการพัฒนาช่วยเหลือตนเองอย่างเต็มที่เพื่อเป็นการลดภาระต่อการดูแลช่วยเหลือของคนในครอบครัวและสังคมในระยะยาว โดยมุ่งหวังให้คนพิการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ
- เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมผู้พิการติดสังคม
- อบรมผู้ดูแลผู้พิการ
- เยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
- ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ
ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตเองได้
0.00
2
เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการสามารถดูแลผู้พิการได้
0.00
3
เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
ตัวชี้วัด : ผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ (3) เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมผู้พิการติดสังคม (2) อบรมผู้ดูแลผู้พิการ (3) เยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4148-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลมานะ แวหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ ”
ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมานะ แวหะมะ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4148-2-19 เลขที่ข้อตกลง 19/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโร๊ะ อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4148-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางการแพทย์และสาธารณสุข ปัญหาอุบัติเหตุอุบัติภัยและโรคไม่ติดต่อ ที่กลายเป็นปัญหาหลักและเป็นสาเหตุของการเพิ่มจำนวนผู้พิการจากโรคดังกล่าวแล้ว ผู้พิการเหล่านั้นยังต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับสภาพความพิการและที่สำคัญยังเป็นภาระของครอบครัว รวมทั้งของสังคมที่ต้องรับผิดชอบดูแลคนพิการเหล่านี้อีกด้วย
ซึ่งยังมีคนพิการอีกเป็นจำนวนพอสมควรที่ยังไม่ได้รับการดูแลด้านสุขภาพและไม่สามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่รัฐจัดให้แม้ว่าในระยะที่ผ่านมาจะมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. ๒๕๓๔และมีการจัดตั้งหน่วยงานขึ้นมารับผิดชอบดูแลคนพิการโดยเฉพาะแล้วก็ตามอาจเป็นเพราะคนพิการไม่มีค่าใช้จ่ายเพียงพอหรือเกรงว่าจะต้องเสียค่าใช้จ่ายมากในการดูแลรักษาสุขภาพหรือเข้าไม่ถึงบริการสาธารณสุขตามสิทธิของคนพิการที่ได้รับซึ่งตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๔๕ได้ให้สิทธิประโยชน์แก่คนพิการ โดยเฉพาะการบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการไว้อย่างชัดเจนแต่ก็ยังปรากฏว่าคนพิการส่วนใหญ่ยังไม่ทราบสิทธิประโยชน์ ในพื้นที่ตำบลบาโร๊ะ มีคนพิการ ทั้งหมดจำนวน ๒๔o คน แยกออกเป็น 7 ประเภท ได้แก่ ๑. ความพิการทางการมองเห็น จำนวน ๑๕ คน
๒. ความพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย จำนวน ๑๙ คน ๓. ความพิการทางการเคลื่อนไหว จำนวน ๑๒๑ คน ๔. ความพิการทางจิตหรือพฤติกรรม จำนวน ๒๕ คน ๕. ความพิการทางสติปัญญา จำนวน ๒๘ คน ๖. ความพิการทางการเรียนรู้ จำนวน ๒๒ คน ๗. ความพิการทางออทิสติกจำนวน ๑o คน ผู้พิการติดเตียง จำนวน ๗ คน ผู้พิการติดบ้านจำนวน ๑๘ คน ชมรมกลุ่มอาสาดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสตำบลบาโร๊ะ จึงได้เห็นถึงความสำคัญในการดูแลช่วยเหลือผู้พิการให้ได้รับสิทธิประโยชน์อย่างทั่วถึงตรงกับความต้องการที่จำเป็นของคนพิการทั้งนี้ในการดูแลด้านสุขภาพของคนพิการครอบคลุ่มถึงการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีศักดิ์ศรีและมีโอกาสได้ใช้ความสามารถที่มีอยู่ได้อย่างเต็มศักยภาพดังนั้นเพื่อสนับสนุนให้คนพิการได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพดังกล่าว ทางชมรมกลุ่มอาสาดูแลผู้พิการ ผู้สูงอายุที่ด้อยโอกาสตำบลบาโร๊ะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชน รวมทั้งผู้เกี่ยวข้องให้สามารถช่วยเหลือตนเองและดำรงชีวิตในสังคมอย่างเหมาะสมต่อไปได้โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมทั้งผู้ให้บริการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันเกิดความเข้าใจสภาพปัญหาข้อจำกัดของคนพิการและมองเห็นถึงศักยภาพขีดความสามารถของคนพิการให้นำมาใช้ในการพัฒนาช่วยเหลือตนเองอย่างเต็มที่เพื่อเป็นการลดภาระต่อการดูแลช่วยเหลือของคนในครอบครัวและสังคมในระยะยาว โดยมุ่งหวังให้คนพิการมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ
- เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมผู้พิการติดสังคม
- อบรมผู้ดูแลผู้พิการ
- เยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้พิการ ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
- ผู้พิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถประกอบกิจวัตรประจำวันในการดำรงชีวิตเองได้ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการสามารถดูแลผู้พิการได้ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม ตัวชี้วัด : ผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมศักยภาพในการประกอบกิจวัตรประจำวันที่สำคัญในการดำรงชีวิตของคนพิการ (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ในการดูแลผู้พิการ (3) เพื่อให้คนพิการ ได้รับการเยี่ยมบ้านโดยชุมชน เจ้าหน้าที่ และ อสม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมผู้พิการติดสังคม (2) อบรมผู้ดูแลผู้พิการ (3) เยี่ยมบ้านผู้พิการติดบ้าน ติดเตียง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการและทุพพลภาพในชุมชนตำบลบาโร๊ะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 63-L4148-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลมานะ แวหะมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......