กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวพาตีนี พิริยศาสน์

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2487-1-12 เลขที่ข้อตกลง 10/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2487-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได้ดำเนินการโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิตามพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตั้งแต่ปี 2547 เป็นต้นมา โดยดำเนินการในโรงเรียน มีกิจกรรมหลักคือ การจ่ายยาถ่ายพยาธิในเด็กนักเรียน การตรวจอุจจาระในเด็กนักเรียนเพื่อค้นหาอัตราความชุกของโรคพยาธิ และการให้ความรู้แก่เด็กนักเรียน ประกอบกับโรคพยาธิจะส่งผลการเจริญเติบโตของเด็ก ภาวะโภชนาการอาจต่ำกว่าเกณฑ์ ส่งผลถึงประสิทธิภาพการเรียนรู้ของเด็กนักเรียนในระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ได้รับสนับสนุนโครงการควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ศาลาใหม่อย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2559-2561 พบอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ 10.71, 6.05, 6.06 ตามลำดับ และจากการดำเนินงาน ในปี 2562 ได้ตรวจค้นหาไข่พยาธิในอุจจาระเด็กนักเรียน ทั้ง 2 โรงเรียน (โรงเรียนบ้านศาลาใหม่และโรงเรียนจรรยาอิสลาม) จำนวน 919 คน คิดเป็นร้อยละ 75.76 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด พบไข่พยาธิ จำนวน 67 คน คิดเป็นอัตราความชุกของโรคพยาธิ ร้อยละ 7.29 โดยพบตามชนิดดังนี้ พบพยาธิแส้ม้า จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 58.20 พบพยาธิไส้เดือน จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 31.35 และพบพยาธิแส้ม้ากับไส้เดือน (มากกว่า 1 ชนิด) จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 10.45 และจากการดำเนินงานอนามัยโรงเรียนบ้านศาลาใหม่ ในการสุ่มนักเรียนจำนวน 192 คน เพื่อตรวจหาภาวะโลหิตจาง (ระดับความเข้มข้นของโลหิตฮีมาโตคริต %) พบว่านักเรียนมีระดับความเข้มข้นของโลหิต ระดับ 1 (ฮีมาโตคริต 35-27 %) จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 8.85 โดยสาเหตุสำคัญจากภาวะซีด คือ พยาธิและภาวะโภชนาการ และจะเห็นได้ว่า อัตราความชุกของโรคพยาธิ ลดลงทุกปี และต่ำกว่าตัวชี้วัดโครงการไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้เพื่อลดอัตราความชุกด้วยโรคพยาธิหรือไม่พบโรคพยาธิในเด็กนักเรียน ซึ่งโรคพยาธิในเด็กนักเรียนจะส่งผลกระทบต่อปัญหาภาวะซีดและภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน รวมไปถึงส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ในเด็กนักเรียนต่อไป และเป็นการสนองตามโครงการพระราชดำริฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศาลาใหม่ จึงได้จัดโครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
  2. 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไข ปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสุ่มตรวจภาวะเข้มข้นของเลือด
  2. ติดตามผล
  3. รณรงค์ให้เด็กนักเรียน กินยาถ่ายพยาธิ
  4. กิจกรรมรณรงค์ตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ)
  5. จัดเก็บรวบรวมสิ่งส่งตรวจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 845
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนลดลง
  2. เด็กนักเรียนทุกคนในโรงเรียนพระราชดำริ ได้รับการตรวจหาไข่พยาธิและได้กินยาถ่ายพยาธิทุกคน
  3. เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีดมีจำนวนลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมสุ่มตรวจภาวะเข้มข้นของเลือด

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 10 (จากจำนวนที่สุ่มทั้งหมด) 222 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ 10 (จากจำนวนที่สุ่มทั้งหมด) พบว่านักเรียนมีระดับความเข้มข้นของโลหิต ระดับ 1 (ฮีมาโตคริต  35-27 %) จำนวน 166 คน
คิดเป็นร้อยละ 74.77

 

0 0

2. จัดเก็บรวบรวมสิ่งส่งตรวจ

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

จัดเก็บรวบรวมสิ่งส่งตรวจ และจัดนำส่งสิ่งส่งตรวจให้แก่รพ.ตากใบ/สนง.โครงการงานโรคติดต่อฯศูนย์พิกุลทอง ในในการดำเนินการตรวจหาไข่พยาธิ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ส่งตรวจ และจัดนำส่งสิ่งส่งตรวจให้แก่รพ.ตากใบ/สนง.โครงการงานโรคติดต่อฯศูนย์พิกุลทอง ในในการดำเนินการตรวจหาไข่พยาธิ

 

845 0

3. กิจกรรมรณรงค์ตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ)

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมรณรงค์ตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ) ของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ) ของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านศาลาใหม่ และโรงเรียนจรรยาอิสลาม จำนวน 845 คน

 

845 0

4. ติดตามผล

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามผลการตรวจสิ่งส่งตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามผลการตรวจสิ่งส่งตรวจจากรพ.ตากใบ/สนง.โครงการงานโรคติดต่อฯศูนย์พิกุลทอง

 

845 0

5. รณรงค์ให้เด็กนักเรียน กินยาถ่ายพยาธิ

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์ให้เด็กนักเรียน 2 โรงเรียน กินยาถ่ายพยาธิต่อหน้าครู/จนท./อาสาสมัคร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กนักเรียนที่ตรวจพบพยาธิได้รับยาถ่ายพยาธิเพื่อรักษาตามชนิดของพยาธิ ร้อยละ 100

 

845 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • เด็กนักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิ และโรคพยาธิมากขึ้น ทำให้พฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่นการไม่ใส่รองเท้า มีจำนวนลดลง และมีพฤติกรรมที่เหมาะสม เช่นมีการล้างมือบ่อยครั้งขึ้น มีการล้างผักผลไม้สดที่สะอาดกว่าเดิม
  • เด็กนักเรียนและผู้ปกครองให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการส่งตรวจอุจจาระตรวจหาไข่พยาธิและกินยาถ่ายพยาธิมากขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. อัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียนไม่เกินร้อยละ 10 2. เด็กนักเรียนที่ส่งตัวอย่างสิ่งส่งตรวจไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของเด็กนักเรียนทั้งหมด
0.00

 

2 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไข ปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนที่ตรวจพบพยาธิได้รับยาถ่ายพยาธิเพื่อรักษาตามชนิดของพยาธิ ร้อยละ 100 2. เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีดไม่เกินร้อยละ 10 (จากจำนวนที่สุ่มทั้งหมด) เด็กนักเรียนที่พบภาวะซีดลดลงจากปี 2562
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 845 845
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 845 845
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราความชุกของโรคพยาธิในเด็กนักเรียน (2) 2. เพื่อดำเนินงานแก้ไข ปัญหาภาวะซีด และปัญหาโรคพยาธิในเด็กนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสุ่มตรวจภาวะเข้มข้นของเลือด (2) ติดตามผล (3) รณรงค์ให้เด็กนักเรียน กินยาถ่ายพยาธิ (4) กิจกรรมรณรงค์ตรวจเก็บตัวอย่างสิ่งส่งตรวจ (อุจจาระ) (5) จัดเก็บรวบรวมสิ่งส่งตรวจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันควบคุมโรคหนอนพยาธิในเด็กนักเรียนโรงเรียนพระราชดำริ ต.ศาลาใหม่ ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2487-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวพาตีนี พิริยศาสน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด