โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม |
รหัสโครงการ | 63-L5273-2-15 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม.หมู่ที่ 2 |
วันที่อนุมัติ | 6 กุมภาพันธ์ 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 25,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางเจ๊ะเด๊าะ วิเชียร |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางดวงใจ อ่อนแก้ว |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.007,100.296place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 15 ก.ค. 2563 | 15 ก.ย. 2563 | 25,000.00 | |||
รวมงบประมาณ | 25,000.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญใสนปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่ง บางโรคเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นและมีแนวโน้มที่จะเกิดโรคเพิ่มและมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องขอประชาชน เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์มากเกินไป การบริโภคอาหารไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทา่งโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการป้องกันควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่ การสูบบุหรี่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย เป็นต้น ชมรม อสม. หมูที่ 2 ได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อผลักดันให้ประชาชนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยมีการเข้าคลินิก DPAC และส่งเสริมให้มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3อ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม ลดปัจจัยเสี่ยงและอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้ยั่งยืน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเสี่ยงในหมู่บ้านมีความรู้ ความสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3 อ กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 80 ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทีา่พึงประสงค์ในเรื่อง 3อ มีความรู้ในการดูแลตนเองและไม่เกิดเป็นกลุ่มป่วย |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 80 | 25,000.00 | 3 | 25,000.00 | 0.00 | |
1 - 31 ก.ค. 63 | ประชุมคณะทำงานเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม | 10 | 500.00 | ✔ | 500.00 | 0.00 | |
15 - 31 ก.ค. 63 | จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง | 70 | 21,250.00 | ✔ | 21,250.00 | 0.00 | |
1 - 15 ก.ย. 63 | ติดตามกลุ่มเสี่ยง | 0 | 3,250.00 | ✔ | 3,250.00 | 0.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 80 | 25,000.00 | 3 | 25,000.00 | 0.00 |
1.จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อเสนอขออนุมัติ 2.ประชุมคณะทำงาน 3.ประสานงานกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ขอผลตรวจคัดกรองสุขภาพ เพื่อเชิญชวนกลุ่มเสี่ยงที่มี BMI สูงและรอบเอวเกินเกณฑ์ น้ำหนักเกิน ค่าความดันโลหิตและค่าน้ำตาลในเลือดเกินเกณฑ์ปกติ เพื่อเชิญชวนเข้าร่วมกิจกรรม 4.ประชาสัมพันธ์โครงการ หอกระจายข่าวหมู่บ้าน เพื่อสร้างกระแสให้ประชาชนในพื้นที่เป้าหมายเกิดการรับรู้และมีความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 5.กำหนดวันเวลาสถานที่ในการจัดกิจกรรม 6.ประสานงานกับ รพ.สต.ฉลุง เพื่อติดต่อวิทยากร 7.จัดเตรียมเอกสารและอปกรณ์การจัดอบรม 8.ดำเนินการอบรม 9.ประเมินผลการอบรม สรุปฏครงการ
กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและมีความรู้และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ในเรื่อง 3อ2ส (อาหาร/ออกกำลังลาย/อารมณ์) 2ส
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2563 15:20 น.