กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง
รหัสโครงการ L822525622012
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข เทศบาลเมืองท่าช้าง
วันที่อนุมัติ 11 กันยายน 2562
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2563
งบประมาณ 135,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวจุฑามาศ พลสงคราม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 12.63646674,102.09098place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคที่เกิดจากยุงลาย

สามารถลดอัตราการป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลาย ลดลงร้อยละ 20 เมื่อเทียบกับค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง และเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา

0.00
2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ชุมชน และวัด

 

0.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายที่ถูกวิธี

 

0.00
4 เพื่อควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายได้อย่างรวดเร็ว

 

0.00
5 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

1.ประชุมชี้แจง ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง คือ เทศบาลเมืองท่าช้าง 2.จัดทำโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ เพื่่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ 3.เตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม 4.ดำเนินกิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ทั้ง 9 ชุมชนๆละ 2 ครั้งโดยวิธี (1.)ทางกายภาพ ดำเนินกิจกรรมโดยใช้หลัก 5ป. ปราบยุงลาย "เปลี่ยน-ปิด-ปล่อย-ปรับปรุง-ปฏิบัติเป็นประจำ" และ 1ข. ข.ขัดไข่ยุงลาย ในชุมชนและโรงเรียน วัด และศูนพัฒนาเด็กเล็ก (2.)ทางชีวภาพ ดำเนินกิจกรรมโดยการปล่อยปลากินลูกน้ำ ลงในภาชนะเก็บกักน้ำ (3.)ใช้สารเคมี ดำเนินกิจกรรมใส่ทรายเคลือบสารที่มีฟอส ในภาชนะเก็บกักน้ำ และจะเข้าไปพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในพื้นที่เกิดโรคทันทีเมื่อมีการระบาด 5.ติดตามและสรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อัตราป่วยผู้ป่วย ด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายลดลง 2.แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ในเขตเทศบาลเมืองท่าช้าง ลดน้อยลง 3.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายที่ถูกวิธี 4.ควบคุมโรคที่เกิดจากยุงลายได้อย่างรวดเร็ว 5.ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2563 15:46 น.