กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560 ”

ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
ชมรมตาดีกาตำบลกาลูปัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4155-2-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลูปัง อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4155-2-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลูปัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมและสิ่งแวดลอมในปจจุบันที่มีการพัฒนาดานเทคโนโลยีการสื่อสาร ทําใหเด็กวัยเรียนและเยาวชนไดรับคานิยมและวัฒนธรรมตะวันตก เกิดการเปลี่ยนแปลงวิถีการดํารงชีวิตอยางมากมาย สงผลตอพฤติกรรม เกิดการเลียนแบบนําไปสูปญหาตางๆ ทั้งตอตัวเด็กเอง ครอบครัว และสังคมโดยเฉพาะการใช้สื่ออินเตอร์เน็ต การติดต่อสื่อสารผ่าน เฟซบุ้ก ไลน์ วีแชต ฯลฯ ผ่านสมาร์ทโฟน แทปเล็ต และโน้ตบุ้ค ซึ่งเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของเรามากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยเรียนและคนทำงาน นอกจากความทันสมัย ฉับไว ด้านข้อมูลข่าวสาร แต่ยังมีอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจได้ หากใช้เทคโนโลยีเหล่านี้อย่างผิด ๆ
ชมรมตาดีกาตำบลกาลูปัง มีหน้าที่ดุแลและรับผิดชอบเยาวชนเด็กวัยเรียนในพื้นที่ โดยใช้หลักศาสนาวิถีท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมให้เยาวชนมีพฤติกรรมที่ดีในทุก ๆ ด้านโดยเฉพาะความแข็งแรงด้านร่างกายความสำคัญของการออกกำลังกาย การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เหมาะสมกับศักยภาพและวัยซี่งในปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบอินเตอร์เน็ตสมาร์ทโฟน เข้ามามีบทบาทในชีวิตของเยาวชนมากขึ้นทำให้เกิดปัญหาเด็กติดเกมติดอินเตอร์เน็ตไม่รู้จักแบ่งเวลาขาดการเคลื่อนไหวไม่เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพในเด็กเช่นโรคอ้วนโรคด้านสายตาโรคด้านอารมณ์และจิตใจที่ไม่สามารถควบคุมได้เนื่องจากติดโซเชิียล ดังนั้น โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียนเป็นโครงการที่จัดทำขึ้นเพื่อรณรงค์ส่งเสริมให้เยาวชนตาดีกาในพื้นที่ได้ตระหนักถึงอันตรายจากสื่อเทคโนโลยีในปัจจุบันการส่งเสริมให้มีกิจกรรมนันทนาการ โดยนำเกมการละเล่นดั้งเดิมของท้องถิ่น เช่นตีเส้น ตี่จับ ขี่ม้าส่งเมือง มาปรับใช้แนะนำให้เยาวชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนเห็นความสำคัญของการออกกำลังกายและอนุรักษ์การละเล่นพื้นบ้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการละเล่นตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นความสำคัญและนำไปใช้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายจากเทคโนโลยีในปัจจุบัน
    2. กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้ความสำคัญของการออกกำลังกาย, การใช้เวลากับสื่ออินเตอร์เน็ตโดยไม่ทำ่ลายสุขภาพ ,การละเล่นพื้นบ้านที่ส่งเสริมการออกกำลังกาย

    วันที่ 5 สิงหาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    1.กิจกรรมบรรยายข้อปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน 2.กิจกรรมบรรยายอันตรายจากการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตในสังคมปัจจุบัน 3.กิจกรรมการออกกำลังกาย และการแข่งขันเล่นเกมส์พื้นบ้านที่ส่งเสริมการออกกำลังกาย

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1.กลุ่มเป้า่หมายที่เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจและดูแลสุขภาพได้เหมาะสมตามวัย 2.กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย โดยใช้กิจกรรมวิถีชุมชน

     

    100 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความเข้าใจและดูแลสุขภาพได้เหมาะสมตามวัย

     

    2 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการละเล่นตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นความสำคัญและนำไปใช้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย เห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย โดยใช้กิจกรรมตามวิถีชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมด้านการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมตามวัย (2) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยการละเล่นตามภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กลุ่มเป้าหมายได้เห็นความสำคัญและนำไปใช้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน ประจำปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4155-2-006

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมตาดีกาตำบลกาลูปัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด