โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ”
อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
นางสุภาพร ป้อฝั้น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไหล่น่าน
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
ที่อยู่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไหล่น่าน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไหล่น่าน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากไลฟ์สไตล์วิธีการใช้ชีวิต ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะค่อยๆ มีอาการและรุนแรงขึ้นทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุมองค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อของประเทศไทย ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มโรคไม่ติดต่อได้คร่าชีวิตประชากรไทยถึง ร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือราว 320,000 คนต่อปี ในจํานวนนี้พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งหรือราวร้อยละ 55 เสียชีวิตที่อายุต่ํา กว่า 70 ปี ซึ่งองค์การอนามัยโลกจัดว่าเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เมื่อพิจารณาความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร จํานวน 4 โรคสําคัญ คือ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้องรัง ระหว่าง พ.ศ. 2555 กับ พ.ศ. 2558 จากข้อมูลทะเบียนการเสียชีวิต ของสํานักบริหารทะเบียน กระทรวงมหาดไทย ที่ได้รับการให้สาเหตุการเสียชีวิตตามมาตรฐานทางการแพทย์แล้ว พบว่า อัตราตายในช่วงอายุ 30 - 69 ปี ของทั้ง 4โรค มีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้น โดย โรคหลอดเลือดสมองมีการเพิ่มมากที่สุด จาก 33.4 ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น 40.9 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด จาก 22.4 ต่อแสนประชากร เป็น 27.8 ต่อแสนประชากร โรคเบาหวาน จาก 13.2 ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น 17.8 ต่อแสนประชากร และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรังจาก 3.8 ต่อแสนประชากร เป็น 4.5 ต่อแสนประชากร เมื่อพิจารณาความแตกต่างของอัตรา การเสียชีวิตรายโรคระหว่างเพศ พบว่า โรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจขาดเลือด และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง พบในเพศชายพบสูงกว่าเพศหญิง 2 -3 เท่า ขณะที่โรคเบาหวานพบการเสียชีวิตในกลุ่ม อายุ 30 - 69 ปี เพศหญิงสูงกว่าเพศชาย
จากรายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 ในปี 2557 พบการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น หนึ่งในสามของประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็น โรคไม่ติดต่อที่สําคัญ ความชุกเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 8.9 คิดเป็นจํานวนประมาณ 4.8 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 300,000 คน ความชุกของความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 24.7 คิดเป็นจํานวนประมาณ 13 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 600,000 คน (ใน จํานวนนี้เป็นผู้ไม่รู้ตัวว่าเป็นDM/HT ถึงร้อยละ 40) ผลกระทบ การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2556 จําแนกตามเพศและรายโรค พบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย เป็นอันดับ 3 ในเพศชาย และเป็นอันดับ 1 ในเพศหญิง โดยค่าความสูญเสียในเพศชาย ร้อยละ 6.9 เพศหญิง ร้อยละ 8.2 และเมื่อพิจารณาการสูญเสียปีสุขภาวะจําแนกตามกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มอายุ 30 – 59ปี โรคเบาหวานเป็น สาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะเป็นอันดับ 2 ในเพศหญิง และโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะ อันดับ 4 ในเพศชายและเพศหญิง และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ในเพศชาย และหญิง 5 อันดับแรกส่วนใหญ่ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะ
สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ การสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บครั้งล่าสุด ปี2558 พบว่า ความชุกภาวะน้ําหนักเกินร้อยละ 30.5 ภาวะอ้วนร้อยละ 7.5 การสูบบุหรี่ในปัจจุบันร้อยละ 21.3 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปัจจุบันร้อยละ 36.2 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบ Heavy drinkภายใน 30 วันที่ผ่านมาร้อยละ 7.3 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบ Binge drink ภายใน 30 วันที่ผ่านมา ร้อยละ 13.6 และการรับประทานผักและผลไม้เฉลี่ยมากกว่า 5 หน่วยมาตรฐานต่อวันภายใน 7 วันที่ผ่านมา ร้อยละ 24.3Z
ผลการดําเนินงาน การดําเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้กําหนดตัวชี้วัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เพื่อเป็น เป้าหมายในการดําเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ดังนี้ 1.อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM พบว่า ข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง (2558-2560) ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง DM เพิ่มขึ้น จากประมาณ 1.8 ล้านราย ในปี 2558 เป็นประมาณ 2.5 ล้านรายในปี 2560 และปี 2558-2559 ในหลายเขตพบว่ามีกลุ่มเสี่ยง DM ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย DM รายใหม่ เพิ่มสูงขึ้น
บ้านห้วยสอนม.5 ตำบลไหล่น่าน มีประชากรทั้งหมด388คนและบ้านห้วยเม่นม.6ตำบลไหล่น่านมีประชากรทั้งหมด144คนรวมมีประชากรทั้งหมด532 คนมีประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง บ้านห้วยสอน84 คน และบ้านห้วยเม่น 23 คนรวม 107คน คิดเป็นร้อยละ 20.11 จากปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป
- 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป
วันที่ 10 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ไม่ป่วยด้วยโรค เบาหวาน และความดันโลหิตสูง
0
0
2. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
วันที่ 10 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำ
อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. มีความรู้ และทักษะเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
80
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
0
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป (2) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุภาพร ป้อฝั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ”
อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
หัวหน้าโครงการ
นางสุภาพร ป้อฝั้น
กันยายน 2563
ที่อยู่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัดน่าน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไหล่น่าน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไหล่น่าน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) หรือ ชื่อภาษาไทยเรียกว่า กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นั้นเป็นชื่อเรียก กลุ่มโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ ไม่ได้เกิดจากเชื้อโรค ไม่สามารถติดต่อได้ผ่านการสัมผัส คลุกคลี หรือ ติดต่อ ผ่านตัวนำโรค (พาหะ) หรือสารคัดหลั่งต่างๆ หากแต่เกิดจากปัจจัยต่างๆ ภายในร่างกาย ซึ่งส่วนใหญ่เป็นผลจากไลฟ์สไตล์วิธีการใช้ชีวิต ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่าง เหล้า บุหรี่ ขาดการออกกำลังกาย อาหารหวานมันเค็มจัด และมีความเครียดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมักจะค่อยๆ มีอาการและรุนแรงขึ้นทีละน้อยหากไม่ได้มีการรักษาควบคุมองค์การอนามัยโลก(WHO) เล็งเห็นว่ากลุ่มโรค NCDs นั้น ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
สถานการณ์โรคไม่ติดต่อของประเทศไทย ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา กลุ่มโรคไม่ติดต่อได้คร่าชีวิตประชากรไทยถึง ร้อยละ 75 ของการเสียชีวิตทั้งหมด หรือราว 320,000 คนต่อปี ในจํานวนนี้พบว่า ประมาณครึ่งหนึ่งหรือราวร้อยละ 55 เสียชีวิตที่อายุต่ํา กว่า 70 ปี ซึ่งองค์การอนามัยโลกจัดว่าเป็นการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เมื่อพิจารณาความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิต ก่อนวัยอันควร จํานวน 4 โรคสําคัญ คือ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคเบาหวาน และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้องรัง ระหว่าง พ.ศ. 2555 กับ พ.ศ. 2558 จากข้อมูลทะเบียนการเสียชีวิต ของสํานักบริหารทะเบียน กระทรวงมหาดไทย ที่ได้รับการให้สาเหตุการเสียชีวิตตามมาตรฐานทางการแพทย์แล้ว พบว่า อัตราตายในช่วงอายุ 30 - 69 ปี ของทั้ง 4โรค มีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้น โดย โรคหลอดเลือดสมองมีการเพิ่มมากที่สุด จาก 33.4 ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น 40.9 ต่อแสนประชากร รองลงมาคือโรคหัวใจขาดเลือด จาก 22.4 ต่อแสนประชากร เป็น 27.8 ต่อแสนประชากร โรคเบาหวาน จาก 13.2 ต่อแสนประชากร เพิ่มเป็น 17.8 ต่อแสนประชากร และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรังจาก 3.8 ต่อแสนประชากร เป็น 4.5 ต่อแสนประชากร เมื่อพิจารณาความแตกต่างของอัตรา การเสียชีวิตรายโรคระหว่างเพศ พบว่า โรคหลอดเลือดสมองโรคหัวใจขาดเลือด และโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเรื้อรัง พบในเพศชายพบสูงกว่าเพศหญิง 2 -3 เท่า ขณะที่โรคเบาหวานพบการเสียชีวิตในกลุ่ม อายุ 30 - 69 ปี เพศหญิงสูงกว่าเพศชาย
จากรายงานการสํารวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 ในปี 2557 พบการป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น หนึ่งในสามของประชาชนไทยที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ป่วยเป็น โรคไม่ติดต่อที่สําคัญ ความชุกเบาหวานเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 8.9 คิดเป็นจํานวนประมาณ 4.8 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 300,000 คน ความชุกของความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 24.7 คิดเป็นจํานวนประมาณ 13 ล้านคน ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละประมาณ 600,000 คน (ใน จํานวนนี้เป็นผู้ไม่รู้ตัวว่าเป็นDM/HT ถึงร้อยละ 40) ผลกระทบ การสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2556 จําแนกตามเพศและรายโรค พบว่า โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะของประชากรไทย เป็นอันดับ 3 ในเพศชาย และเป็นอันดับ 1 ในเพศหญิง โดยค่าความสูญเสียในเพศชาย ร้อยละ 6.9 เพศหญิง ร้อยละ 8.2 และเมื่อพิจารณาการสูญเสียปีสุขภาวะจําแนกตามกลุ่มอายุ พบว่า กลุ่มอายุ 30 – 59ปี โรคเบาหวานเป็น สาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะเป็นอันดับ 2 ในเพศหญิง และโรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะ อันดับ 4 ในเพศชายและเพศหญิง และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ในเพศชาย และหญิง 5 อันดับแรกส่วนใหญ่ กลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุของการสูญเสียปีสุขภาวะ
สถานการณ์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อ การสํารวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บครั้งล่าสุด ปี2558 พบว่า ความชุกภาวะน้ําหนักเกินร้อยละ 30.5 ภาวะอ้วนร้อยละ 7.5 การสูบบุหรี่ในปัจจุบันร้อยละ 21.3 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปัจจุบันร้อยละ 36.2 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบ Heavy drinkภายใน 30 วันที่ผ่านมาร้อยละ 7.3 การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์แบบ Binge drink ภายใน 30 วันที่ผ่านมา ร้อยละ 13.6 และการรับประทานผักและผลไม้เฉลี่ยมากกว่า 5 หน่วยมาตรฐานต่อวันภายใน 7 วันที่ผ่านมา ร้อยละ 24.3Z
ผลการดําเนินงาน การดําเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้กําหนดตัวชี้วัดภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เพื่อเป็น เป้าหมายในการดําเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ ดังนี้ 1.อัตราผู้ป่วย DM รายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง DM พบว่า ข้อมูล 3 ปีย้อนหลัง (2558-2560) ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรองว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง DM เพิ่มขึ้น จากประมาณ 1.8 ล้านราย ในปี 2558 เป็นประมาณ 2.5 ล้านรายในปี 2560 และปี 2558-2559 ในหลายเขตพบว่ามีกลุ่มเสี่ยง DM ถูกวินิจฉัยว่าเป็นผู้ป่วย DM รายใหม่ เพิ่มสูงขึ้น
บ้านห้วยสอนม.5 ตำบลไหล่น่าน มีประชากรทั้งหมด388คนและบ้านห้วยเม่นม.6ตำบลไหล่น่านมีประชากรทั้งหมด144คนรวมมีประชากรทั้งหมด532 คนมีประชากรอายุ 30 ปีขึ้นไปที่เป็นกลุ่มเสี่ยง บ้านห้วยสอน84 คน และบ้านห้วยเม่น 23 คนรวม 107คน คิดเป็นร้อยละ 20.11 จากปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป
- 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ไม่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน หรือโรคความดันโลหิตสูง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป ไม่ป่วยด้วยโรค เบาหวาน และความดันโลหิตสูง
|
0 | 0 |
2. 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง |
||
วันที่ 10 กรกฎาคม 2563กิจกรรมที่ทำอบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. มีความรู้ และทักษะเรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 0 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุง ในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ ตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน 2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและภาวะลงพุงและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง เสี่ยงภาวะลงพุง ประชาชนอายุ 30 ปีขึ้นไป (2) 2.อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานการประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมองและวิธีการช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะลงพุง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลส้านนาหนองใหม่ อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน จังหวัด น่าน
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุภาพร ป้อฝั้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......