กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง


“ โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563 ”

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนิซง ยอคอร์

ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 11/2563 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 11/2563 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยการให้วัคซีนใน 0 - 5 ปี เป็นสิ่งสำคัญ เพราะเด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าในอนาคต เด็กที่มีคุณภาพ คือ เด็กที่มีการเจริญเติบโตสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม มีพัฒนาการสมวัย หากเด็กไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับแต่ไม่ครบตามเกณฑ์ จะส่งผลทำให้เด็กมีโอกาสเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ซึ่งอาจเป็นโรคที่มีความรุนแรงถึงชีวิตได้ ทำให้บิดา มารดาและครอบครัวได้รับความเดือดร้อนจากการเจ็บป่วยของบุตรและสูญเสียค่าใช้จ่ายจากการเจ็บป่วย บิดา มารดาและครอบครัว คือ บุคคลที่มีบทบาทสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็ก หากบิดา มารดาและครอบครัว ขาดความรู้ความเข้าใจ ไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงดูเด็ก จะส่งผลต่อภาวะสุขภาพของเด็ก กรมควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข จึงได้กำหนดให้เด็กในแต่ละช่วงอายุควรได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์ โดยความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในแต่ละช่วงอายุ ต้องได้รับวัคซีนตามเกณฑ์มาตรฐานร้อยละ 90 จากผลการปฏิบัติงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกรงปินัง ปี 2562 พบว่ายังมีความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด และยังมีการระบาดของโรคหัดในพื้นที่ที่รับผิดชอบซึ่งมีผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยเป็นโรคหัดทั้งหมด 22 รายมีประปรายและส่วนใหญ่จะเกิดกับเด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ สามารถวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ เนื่องจากผู้ปกครองขาดความตระหนัก ไม่เห็นความสำคัญของการรับวัคซีน นำเด็กมาฉีดวัคซีนช้ากว่ากำหนด จึงทำให้เข็มต่อไปช้าไปด้วย ผู้ปกครองกลัวว่าเด็กจะเป็นไข้ ผู้ปกครองไม่มีเวลาเนื่องจากต้องทำงาน เด็กต้องตามผู้ปกครองไปทำงานต่างถิ่น/ต่างประเทศ เด็กไม่อยู่ในพื้นที่และไม่สามารถติดตามให้เด็กมารับบริการฉีดวัคซีนได้ เป็นต้น ในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ มีประชากรเด็กอายุ 0 - 5 ปี จำนวน 380 คน เด็กที่ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 ได้รับวัคซีนช้ากว่าเกณฑ์อายุ 182 คน คิดเป็นร้อยละ 47.89 และที่ไม่ได้รับวัคซีนเนื่องจากผู้ปกครองบายเบี่ยง จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 23.42 ซึ่งพบว่ายังเป็นปัญหาในการดูแลสุขภาพของเด็ก ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่ง ที่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านต้องให้ความรู้ คำแนะนำ แก่บิดา มารดา และครอบครัวของเด็ก ให้เห็นถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีนตามวัย จากเหตุการณ์ดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ได้เล็งเห็นปัญหาการไม่ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์เป็นปัญหาที่ควรได้รับการแก้ไขโดยต้องอาศัยจากเครือข่ายสุขภาพและประชาชนในพื้นที่ จึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วนที่ต้องมีการรณรงค์ให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในพื้นที่ ต้องได้รับการติดตาม เพื่อให้ได้รับวัคซีนให้ครบตามเกณฑ์ เพื่อลดอัตราป่วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนที่ถูกต้อง
  2. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในเด็ก 9 เดือน- 1ปี
  3. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในเด็ก 0-1 ปี
  4. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยักและ หัด เป็นต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการเสริมสร้างความเข้าใจ ห่างไกลโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมบูรณาการรณรงค์สัปดาห์วัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ผู้ปกครองมีความรู้มากขึ้น และมีแรงจูงใจในการนำบุตรหลานมารับวัคซีน 7.2 เด็ก 0-5 ปี ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์อายุ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 7.3 เด็กอายุ 9 เดือน-1 ปี ได้รับวัคซีน MMR1 ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 7.4 เด็ก 0-5 ปี ปราศจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในเด็ก 9 เดือน- 1ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ95 ในเด็ก 9 เดือน- 1ปี มีความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR
0.00

 

3 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในเด็ก 0-1 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90 ของเด็ก 0-1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์
0.00

 

4 เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยักและ หัด เป็นต้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกกครองเด็ก 0-5 ปี มีความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนที่ถูกต้อง (2) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MMR ในเด็ก 9 เดือน- 1ปี (3) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ในเด็ก 0-1 ปี (4) เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน เช่น โรคคอตีบ ไอกรน บาดทะยักและ หัด เป็นต้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการเสริมสร้างความเข้าใจ ห่างไกลโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมบูรณาการรณรงค์สัปดาห์วัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างพลัง เพิ่มความเข้าใจ เพื่อห่างไกลโรคที่ป้องกันด้วยวัคซีน ปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 11/2563

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนิซง ยอคอร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด