กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560 ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี บุญเพิ่ม

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 52/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 52/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 64,626.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนถือเป็นเครือข่ายการคุ้มครองผู้บริโภคที่มีความสำคัญที่มีบทบาทสำคัญในการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ส่งเสริมให้ผู้บริโภคเฝ้าระวังการรักษาสิทธิประโยชน์ผู้บริโภคในการเลือกซื้อเลือกใช้เลือกบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เป็นประโยชน์ในชีวิตประจำวันทั้งในโรงเรียนรวมถึงครอบครัว และชุมชนใกล้เคียงด้วยวิธีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้สู่นักเรียนโดยตรง ในรูปแบบต่างๆรวมทั้งมีการบูรณาการความรู้ด้านการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคเข้ากับการเรียนการสอนในรายวิชาที่เรียนซึ่งความรู้เหล่านี้ล้วนมีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเลือกซื้อเลือกใช้เลือกบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพของนักเรียน บุคลากรในโรงเรียน ครอบครัวและชุมชน โรงเรียนสตูลวิทยาเห็นความสำคัญของการจัดกิจกรรมการคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคในโรงเรียน จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อเลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัยรวมทั้งสามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครูและผู้ปกครองและชุมชนได้และเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู บุคลากรอื่นในโรงเรียนผู้ประกอบการในโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียนผู้ประกอบการในชุมชน โรงเรียนเครือข่ายและชุมชน ในเรื่องการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียนและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
  2. เพื่อให้สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง
      1. นักเรียน อย.น้อย สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
      2. นักเรียน อย.น้อย สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครู ผู้ปกครองเครือข่ายและชุมชนได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้การคุ้มครองผู้บริโภค การดำเนินกิจกรรมของอย.น้อย

    วันที่ 30 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีผู้เข้ารับการอบรมเป็นนักเรียนแกนนำโรงเรียนสตูลวิทยา นักเรียนโรงเรียนเครือข่ายในตำบลคลองขุดและผู้ประกอบการ จำนวน 140 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การคุ้มครองผู้บริโภคภายใต้วิสัยทัศน์เชิงนโยบาย Thailand 4.0 สิทธิผู้บริโภคขั้นพื้นฐานกับกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค,รอบรู้เรื่องฉลากโดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล

     

    140 140

    2. กิจกรรมเดินรณรงค์นำความรู้สุ่ชุมชน

    วันที่ 31 สิงหาคม 2560 เวลา 08:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต นักเรียนแกนนำโรงเรียนสตูลวิทยา นักเรียนแกนนำโรงเรียนเครือข่ายในตำบลคลองขุด ตัวแทนผู้ประกอบการตำบลคลองขุด ตัวแทนอาสาพัฒนาสาธารณสุขตำบลคลองขุด จำวน 140 คน ผลลัพธ์ ประชาชน พ่อค้า แม่ค้าตลาดนัดธานินทร์ ได้รับความรู้เรื่องการคุ้มครองผูบริโภค

     

    140 140

    3. กิจกรรมบูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน

    วันที่ 18 กันยายน 2560 เวลา 13:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต มีนักเรียนแกนนำที่เป็นตัวแทนในการทำกิจกรรมเดินรณรงค์นำความรู้สู่ชุมชนจากโรงเรียนสตูลวิทยาจำนวน 14 คน โดยรณรงค์ในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด และหมู่ที่ 5 บ้านนาแค0

     

    14 14

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีนักเรียนแกนนำจากโรงเรียนสตูลวิทยา นักเรียนแกนนำเครือข่ายโรงเรียนในตำบลคลองขุด ตัวแทนผู้ประกอบการ จำนวน 140 คน เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพการดำเนินกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภค มีกิจกรรมรณรงค์จากตลาดตั้งจิตต์ศีลถึงตลาดนัดธานินทร์ ให้ความรู้พ่อค้า แม่ค้า และผู้บริโภคในตลาดนัดธานินทร์ และจัดกิจกรรมนำความรู้สู่ชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านคลองขุด และหมู่ที่ 5 บ้านนาแค

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
    ตัวชี้วัด : กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง

     

    2 เพื่อให้สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียน อย.น้อย สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 140
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อยได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (2) เพื่อให้สามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    อบรมเชิงปฏิบัติการและพัฒนาศักยภาพ อย.น้อย บูรณาการนำความรู้สู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 52/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณี บุญเพิ่ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด