กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวธิดา เหมือนพะวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-50094-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-50094-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เป็นปัญหาที่คุกคามสุขภาพสตรีทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย มีอุบัติการณ์ของโรคสูงเป็นอันดับ 1 ในปี 2557 และพบว่าสตรีทุก 16 คน มีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกได้ 1 คน โรคมะเร็งปากมดลูกเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (human Papilloma virus หรือ HPV ) โดยกระบวนการเกิดเกิดมะเร็งปากมดลูกใช้เวลาเฉลี่ย 5-15 ปี พบว่าสตรีที่ติดเชื้อไวรัสกลุ่ม ความเสี่ยงสูง มีโอกาสที่จะเกิดมะเร็งปากมดลูกสูงถึง 400 เท่า เมื่อเทียบกับสตรีที่ไม่พบการติดเชื้อดังกล่าว อย่างไรก็ตาม การติดเชื้อดังกล่าวอาจจะหายเองได้ด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย ในกรณีที่ติดเชื้อ ยังคงอยู่หรือฝั่งแน่นที่ปากมดลูกก็จะมีพัฒนาไปเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ เนื่องจากโรคนี้มรระยรก่อน มะเร็งให้ตรวจพบได้ ดังนั้นดังนั้นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จะทำให้พบระยะก่อนมะเร็ง และมะเร็งระยะเริ่มแรก ช่วยให้สามารถรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ ถึงแม้ว่ามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมทำให้เกิดความสูญเสียและเป็นสาเหตุการตายในอัตราที่สูง แต่ก็เป็นโรคที่สามารถรักษาได้ และการพยากรณืโรคค่อนข้างดี ถ้าสามารถตรวจพบและให้การรักษาในระยะเริ่มแรก ซึ่งร้อยละ 80 ของสามารถครวจพบได้โดยการตรวจคัดกรองเบื้องต้น แป๊ปสเมียร์ (Pap smear) และการตรวจเต้านมด้วยตนเองเป็นประจำทุกเดือน เพื่อค้นหาความผิดปกติ ซึ่งเป็นวิธีที่ได้รับการแนะนำให้ปฎิบัติมากที่สุด เนื่องจากเป็นวิธ๊ที่ไม่ยุ่งยาก โดยเฉพาะการตรวจเต้านมด้วยตนเองอย่างถูกต้อง และสามารถปฎิบัติได้ง่ายด้วยตนเอง โดยไม่ต้องอาศัยเครื่องมือพิเศษใดๆ ช่วยในการตรวจ ประหยัดเวลา และไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคดังกล่าว ปี 2559 พบ ผู้ป่วยรายใหม่มะเร็งเต้านม จากการตรวจคัดกรอง จำนวน 1 คน และความผิดปกติอื่นๆจำนวน 5 คน และผู้ที่มีการเปลี่ยนแปลงเซลล์บริเวณปากมดลูก ที่ต้องได้รับการตรวจพิเศษ จำนวน 2 ราย และความผิดปกติอื่นๆ จำนวน 10 ราย ซึ่งผู้ป่วยและผู้ที่พบความผิดปกติต่างๆ ได้รับการรักษาและการติดตามอย่างต่อเนื่องทางผู้รับผิดชอบโครงการ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องของกิจกรรมการดำเนินงาน และประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถเฝ้าระวังตนเองให้ปลอดภัยจากโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ ด้วยการเรียนรู้ขั้นตอนและวิธีการตรวจเบื้องต้นได้จากเจ้าหน้าที่หรือแกนนำอาสาสมัครสาธารณสุข อันจะเป็นการสร้างสุขนิสียในการตรวจสุขภาพของประชาชนให้มีความสนใจ และตระหนักในการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งในโอกาสต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากว่าร้อยละ 80
  2. 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกเพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
  3. 3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายสตรีอาสาต้านมะเร็งในชุมชน
  4. 4. เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพเพิ่มประสิทธิผล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    หญิงวัยเจริญพันธ์ได้รับการตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกมากกว่าร้อยละ 25 และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากกว่าร้อยละ 90 สำหรับผู้ที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยที่ถูกต้องร้อยละ 100 และได้รับการรักษาอย่างถูกต้องเหมาะสมในสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนการดำเนินงาน กับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ
    2. จัดทะเบียนรายชื่อสตรีกลุ่มเป้าหมายให้แกนนำ แต่ละหมู่/ชุมชน เพื่อแจ้งให้แต่ละคนติดตามกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ที่รับผิดชอบมารับบริการตรวจคัดกรอง และติดตามกลุ่มเป้าหมายที่ไปรับบริการที่สถานบริการอื่นๆ เพื่อการเก็บความครอบคลุมการเข้าเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
    3. เสริมสร้างทักษะและศักยภาพ ความรู้เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และการตรวจมะเร็งปากมดลูกและวิธีการตรวจที่ละเอียด กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 พบความผิดปกติและส่งต่อ จำนวน 2 ราย มีการเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 58 คน คิดเป็นร้อยละ  58 อยู่ระหว่าง   รอผลการตรวจ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากว่าร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกเพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยมะเร็งปากมดลูกและเต้านม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายสตรีอาสาต้านมะเร็งในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพเพิ่มประสิทธิผล
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และตระหนักในเรื่องของมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องมากว่าร้อยละ 80 (2) 2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกเพื่อลดอัตราป่วยและตายด้วยมะเร็งปากมดลูกและเต้านม (3) 3. เพื่อเสริมสร้างเครือข่ายสตรีอาสาต้านมะเร็งในชุมชน (4) 4. เพื่อหาแนวทางการดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่และมีประสิทธิภาพเพิ่มประสิทธิผล

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-50094-2-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวธิดา เหมือนพะวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด