โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ
ชื่อโครงการ | โครงการโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็๋ก ปลอดภัยห่างไกลโรคติดต่อ |
รหัสโครงการ | 63-L7250-01-5 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | (นางสาวเอมอร ไชยมงคล) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ |
วันที่อนุมัติ | 26 มิถุนายน 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2563 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | (นางสาวเอมอร ไชยมงคล) ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผู้ป่วยไข้เลือดออกจังหวัดสงขลา ปี 2562 มีจำนวน 419 ราย อยู่ในเขตอำเภอเมืองสงขลา จำนวน 113 ราย ข้อมูลผู้ป่วยไข้เลือดออกศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ ปี 2560 - 2562 มีจำนวนผู้ป่วย19, 35 และ 26 รายตามลำดับ ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเด็กวัยเรียน อยู่ในกลุ่มอายุ 5 - 14 ปี และรองลงมาคือกลุ่มวัยทำงาน อายุ 15 - 34 ปี ซึ่งมาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ด้วยวิธีการจัดหาสารฆ่าลูกน้ำ การพ่นหมอกควันและสารเคมี การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ และสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด
ปัจจุบันสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดต่อจากเชื้อไวรัสโคโรนา และโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนแรงและมีผู้ป่วยมากขึ้น การป้องกันและควบคุมโรคจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ศูนย์บริการสาธารณสุขสระเกษ เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกล่วงหน้าและทันท่วงทีที่เกิดโรค
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในโรงเรียน
|
0.00 | |
2 | ๒. เพื่อให้โรงเรียนสำรวจลูกน้ำยุงเป็นประจำ และได้ตระหนักในการจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อ
|
0.00 |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
- ดำเนินการเขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
- แต่งตั้งคณะทำงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (SRRT)
- ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ประชาสัมพันธ์กิจกรรมโครงการ
- รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายใน โรงเรียน ๕ แห่ง และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 2 แห่ง พร้อมประชาสัมพันธ์เสียงตามสายในชุมชน/วิทยุชุมชนเทศบาลนครสงขลา/ประชาสัมพันธ์โรงเรียน
- คณะทำงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (SRRT) ลงประเมินติดตามและสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เดือนละ ๑ ครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน
- ประเมินผล และจัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ
- คณะทำงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อในชุมชน (SRRT) ลงประเมินติดตามและสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เดือนละ ๑ ครั้ง เป็นเวลา 3 เดือน
- เด็กนักเรียนในโรงเรียน มีความตระหนักและมีการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
- เด็กนักเรียนในโรงเรียน มีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ
- ลดการแพร่ระบาดของโรคและลดอัตราป่วย/ของโรคไข้เลือดออก ในโรงเรียน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 13 ก.ค. 2563 14:29 น.