กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560 ”

ชุมชนหลาโป ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอารมย์ รักเดชา

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560

ที่อยู่ ชุมชนหลาโป ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6895-02-25 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนหลาโป ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนหลาโป ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยเปลี่ยนไปจากอดีต ดังจะเห็นได้จากบริบทการทำงาน เศรษฐกิจ และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป มีการแข่งขันทั้งทางด้านข่าวสารสารสนเทศและเทคโนโลยี ทำให้วิถีชีวิตของคนในสังคมต้องเร่งรีบและแข่งขันตามกลไกเศรษฐกิจ แต่ในความเจริญนั้นก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ เกิดขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็นปัญหาอาชญากรรม สุขภาพทั้งร่างกายจิตใจ เป็นต้น แต่ระบบเศรษฐกิจนั้นยังคงดำเนินไปเรื่อยๆ โดยที่ทรัพยากรที่สำคัญที่สุด คือ ทรัพยากรมนุษย์ นั้นไม่ยั่งยืนและพัฒนาขึ้น เพราะร่างกายมนุษย์เสื่อมลงตามกาลเวลา ประกอบกับมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มขึ้น แต่เวลาในการดูแลสุขภาพของตนเองกลับน้อยลง เกิดปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ทำให้ประชาชนหันไปพึ่งพาสินค้าที่จะทำให้สุขภาพดีจากสื่อต่างๆ เช่น ยาอายุวัฒนะ น้ำสมุนไพรต่างๆ ซึ่งไม่จำเป็นและมีราคาแพง ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพด้วยวิธีง่ายๆ และได้ผลจึงเป็นสิ่งที่เหมาะสมกับช่วงเวลาที่เศรษฐกิจไม่ดีนัก การออกกำลังกายเป็นเครื่องมือในการสร้างเสริมสุขภาพที่มีค่าใช้จ่ายในการนำไปสู่สุขภาพแข็งแรงสุขภาพจิตดีส่งผลให้คุณภาพชีวิตที่ดีปลอดจากโรคภัยไข้เจ็บ สำหรับประโยชน์ของการบริหารร่างกายด้วยไม้พลองคือ ทำให้กล้ามเนื้อหลังและลำตัวเกิดความยืดหยุ่นขึ้น ลดอาการปวดหลัง เมื่อปฏิบัติเป็นประจำสม่ำเสมอจะกระตุ้นการทำงานของระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหายใจ และอื่นๆในร่างกายให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ร่างกายแข็งแรง กระปรี้กระเปร่า ลดไขมันส่วนเกิน การเคลื่อนไหวแคล่วคล่องว่องไวขึ้น สมองปลอดโปร่ง และสุขภาพจิตดี ทางชุมชนหลาโป ได้เล็งเห็นความสำคัญในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคให้กับผู้สูงอายุในชุมชน จึงจัดทำโครงการชุมชนหลาโปใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560 ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนในชุมชนเกิดการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง และมีสุขภาพดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น
    2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดูแล/ส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายไม้พลอง
    3. เกิดการรวมกลุ่มและมีการออกกำลังกายในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ตรวจประเมินสุขภาพ

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    การตรวจสุขภาพเบื้องต้นก่อนการอบรมแก่ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 78 คน โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว และประเมินค่าดัชนีมวลกาย แก่ประชาชน ผลการสุขภาพเบื้องต้น มีดังนี้ - ผลการวัดรอบเอว  (ผู้หญิงไม่เกิน 80 ซม./ผู้ชายไม่เกิน 90 ซม.)  พบว่า  มีรอบเอวเกิน  จำนวน  48  คน  และรอบเอวไม่เกิน  จำนวน 30 คน - ผลการประเมินค่าดัชนีมวลกาย  พบว่า  ปกติ  จำนวน 34 คน  ผิดปกติ (ผอม/ท้วม/อ้วน/อ้วนมาก)  จำนวน  44  คน - ผลการประเมินระดับความดันโลหิต  พบว่า  อยู่ในกลุ่มปกติ  จำนวน 23 คน  กลุ่มเสี่ยง  จำนวน  45  คน และกลุ่มสงสัย  จำนวน 10 คน ติดตามผลหลังเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย  ประเมินจากผลการตรวจสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง  จำนวน  15 คน  โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต และวัดรอบเอว พบว่า - ผลการวัดรอบเอว  พบว่า  มีรอบเอวเท่าเดิม จำนวน  11  คน  และรอบเอวลดลง จำนวน 4 คน - ผลการประเมินระดับความดันโลหิต  พบว่า อยู่ในกลุ่มปกติและกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับความดันได้ จำนวน 11 คน  อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับความดันไม่ได้  จำนวน  4  คน

     

    50 78

    2. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนทั่วไปในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม

    วันที่ 18 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในเรื่อง การส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส  วิธีการฝึกการหายใจ และฝึกคลายกล้ามเนื้อ และการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง
    2. ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการประเมินสุขภาพเบื้องต้น
    3. มีการรวมกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนและ/หรือเกิดชมรมออกกำลังกายในชุมชน

     

    50 78

    3. กิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน

    วันที่ 21 กรกฎาคม 2560 เวลา 17:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนหลาโป  โดยมี อสม./แกนนำสุขภาพชุมชนเป็นผู้นำการออกกำลังกายในชุมชน  (เช่น ไม้พลอง  ยางยืด เป็นต้น)  ซึ่งดำเนินกิจกรรมทุกวันเสาร์  ในเวลา 17.00 น. – 18.30 น. ณ บริเวณลานชุมชนหลาโป  ริเริ่มมีชาวชุมชนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายในแต่ละครั้งเฉลี่ย จำนวน 10-15 คน 

     

    20 15

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ประชาชนทั่วไปในชุมชนที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  50 คน ซึ่งมีประชาชนสนใจเข้ารับการอบรมครั้งนี้  จำนวน  78 คน  เมื่อวันที่  18  กรกฎาคม 2560  ณ ชุมชนหลาโป ซึ่งมีการดำเนินกิจกรรมดังนี้ 1.1  มีการตรวจสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้ารับการอบรม โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต วัดรอบเอว และประเมินค่าดัชนีมวลกาย แก่ประชาชน ผลการสุขภาพเบื้องต้น มีดังนี้

    - ผลการวัดรอบเอว  (ผู้หญิงไม่เกิน 80 ซม./ผู้ชายไม่เกิน 90 ซม.)  พบว่า  มีรอบเอวเกิน  จำนวน  48  คน  และรอบเอวไม่เกิน  จำนวน 30 คน - ผลการประเมินค่าดัชนีมวลกาย  พบว่า  ปกติ  จำนวน 34 คน  ผิดปกติ (ผอม/ท้วม/อ้วน/อ้วนมาก)  จำนวน  44  คน - ผลการประเมินระดับความดันโลหิต  พบว่า  อยู่ในกลุ่มปกติ  จำนวน 23 คน  กลุ่มเสี่ยง  จำนวน  45  คน และกลุ่มสงสัย  จำนวน 10 คน 1.2  อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การส่งเสริมสุขภาพตามหลัก 3 อ 2 ส  วิธีการฝึกการหายใจ และฝึกคลายกล้ามเนื้อ และการออกกำลังกายด้วยไม้พลอง โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังมาให้ความรู้ดังกล่าว 2. กิจกรรมออกกำลังกายในชุมชนหลาโป  โดยมี อสม./แกนนำสุขภาพชุมชนเป็นผู้นำการออกกำลังกายในชุมชน  (เช่น ไม้พลอง  ยางยืด เป็นต้น)  ซึ่งดำเนินกิจกรรมทุกวันเสาร์  ในเวลา 17.00 น. – 18.30 น. ณ บริเวณลานชุมชนหลาโป  ริเริ่มมีชาวชุมชนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายในแต่ละครั้งเฉลี่ย จำนวน 10-15 คน
    3. ติดตามผลหลังเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย  ประเมินจากผลการตรวจสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทุกครั้ง  จำนวน  15 คน  โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต และวัดรอบเอว พบว่า - ผลการวัดรอบเอว  พบว่า  มีรอบเอวเท่าเดิม จำนวน  11  คน  และรอบเอวลดลง จำนวน 4 คน - ผลการประเมินระดับความดันโลหิต  พบว่า อยู่ในกลุ่มปกติและกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับความดันได้ จำนวน 11 คน  อยู่ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยที่ควบคุมระดับความดันไม่ได้  จำนวน  4  คน
    4. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการ  จำนวน  17,400  บาท มีรายละเอียด ดังนี้ กิจกรรมตรวจประเมินสุขภาพก่อน-หลังการอบรม - ค่าเครื่องวัดความดันโลหิต เป็นเงิน   2,200 บาท - ค่าเครื่องชั่งน้ำหนัก เป็นเงิน   800 บาท กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ - ค่าวิทยากร เป็นเงิน   3,000 บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม เป็นเงิน   3,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน   3,500 บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน  (ขนาด 1.00*2.50 เมตร) เป็นเงิน     300 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบบันทึกสุขภาพ เป็นเงิน     581 บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน   4,019 บาท กิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน  (ไม่มีค่าใช้จ่าย ) ติดตามผลหลังเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย (ไม่มีค่าใช้จ่าย) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  17,400.-  บาท  (หนึ่งหมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยบาทถ้วน)

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนหลาโป ใส่ใจสุขภาพด้วยไม้พลอง..พิชิตโรค ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6895-02-25

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอารมย์ รักเดชา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด