โครงการส่งเสริมและบูรณาการภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมและบูรณาการภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย |
รหัสโครงการ | 63-L6961-01-28 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก |
วันที่อนุมัติ | 1 กรกฎาคม 2563 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 2 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 9,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนูรูฮูดา มะเด็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การแพทย์แผนปัจจุบันไม่ได้เป็นวิถีทางเดียวในการแก้ปัญหาความเจ็บป่วยของประชาชนได้อย่างทั่วถึง และมีประสิทธิภาพเพียงพอ และมีคนไทยจำนวนไม่น้อยที่ยังเลือกใช้วิธีการรักษาพยาบาลแบบพื้นบ้านซึ่งเป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่นที่ดูแลสุขภาพที่สำคัญอีกศาสตร์หนึ่ง โดยมีเหตุผล คือสะดวก ประหยัดและได้ผล โดยมีหมอพื้นบ้านเป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพอนามัยของประชาชนในชนบทตลอดมา จากการรวบรวมข้อมูลทะเบียนหมอพื้นบ้านที่สำรวจโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ณ เดือนมีนาคม 2562 พบว่าหมอพื้นบ้านที่อาศัยอยู่ในอำเภอสุไหงโก-ลก ที่ให้การรักษาและดูแลสุขภาพประชาชน มีจำนวน 50 คนโดยประมาณ โดยใช้ศาสตร์ด้านสมุนไพร ไสยศาสตร์ การผดุงครรภ์ไทยและการนวดจับเส้น เป็นต้น ดังนั้น งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงเห็นความสำคัญของภููมิปัญญาหมอพื้นบ้าน เพื่อส่งเสริมระบบบริการการรักษาและฟื้นฟูสภาพด้วยการแพทย์ทางเลือก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมและบูรณาการภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ปี 2563 ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของหมอพื้นบ้านให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพประชาชน ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการประเมินการรักษาเบื้องต้นที่ถูกต้อง ข้อห้ามและข้อควรระวังในการรักษาต่างๆ ร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | 2. เพื่อเป็นทางเลือกในการรักษาสำหรับผู้ป่วยและเป็นการช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาล ประเมินความพึงพอใจในการจัดโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
0.00 | |
3 | 3. เพื่อส่งเสริมให้เครือข่ายด้านสุขภาพของการแพทย์ทางเลือกในอำเภอสุไหงโก-ลกมีความเข้มแข็ง เช่น มีการจัดตั้งกลุ่มหมอพื้นบ้านใน ตำบลสุไหงโก-ลก อย่างน้อย 1 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมอบรมมีการขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้านไม่น้อยกว่า ร้อยละ 70 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 40 | 9,300.00 | 0 | 0.00 | 9,300.00 | |
15 ก.ค. 63 | ให้ความรู้เรื่องการขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้านและการประเมินการรักษาเบื้องต้น | 40 | 9,300.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 40 | 9,300.00 | 0 | 0.00 | 9,300.00 |
- คุณภาพและประสิทธิภาพของหมอพื้นบ้านให้มีศักยภาพในการดูแลสุขภาพประชาชน
- เป็นทางเลือกในการรักษาสำหรับผู้ป่วยและเป็นการช่วยลดการใช้ยาแผนปัจจุบันและค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาล
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2563 11:20 น.