กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560 ”

ชุมชนป่ามะพร้าว ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี ไกรว่อง

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560

ที่อยู่ ชุมชนป่ามะพร้าว ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L6895-02-28 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ชุมชนป่ามะพร้าว ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ชุมชนป่ามะพร้าว ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L6895-02-28 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาที่สำคัญของการสาธารณสุขระดับประเทศเนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราการตายและการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วยเองชุมชน /สังคมตามลำดับแต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบในกลุ่มเด็กอายุระหว่าง 5-9 ปีแต่ในปัจจุบันสามารถพบได้ทุกกลุ่มอายุและยังมีการระบาดทุกปีสําหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกจังหวัดตรังตั้งแต่ปี 2535-2558 ของจังหวัดตรัง มีลักษณะแนวโน้มการเกิดโรคเป็นแบบระบาด 2 ปี เว้น 1 ปี อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายอําเภอปี 2558 ในพื้นที่จังหวัดตรัง 3 อันดับแรกพบว่า อําเภอที่มีอัตราป่วยสูงสุด คือ อําเภอเมืองอัตราป่วย 149.25 ต่อแสนประชากรรองลงมาคืออําเภอกันตังอัตราป่วย84.31 ต่อแสนประชากร และอําเภอย่านตาขาวอัตราป่วย65.49ต่อแสนประชากรและจากสถานการณ์ไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองกันตังเมื่อปี2558มีผู้ป่วยไข้เลือดออกรวมจำนวน29 รายเกิดขึ้นในชุมชนป่าไม้จำนวน 2 รายโดยชุมชนป่าไม้มีจำนวน200หลังคาเรือนและในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและเกิดความร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้ ดังนั้น ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนป่ามะพร้าวจึงได้จัดทำโครงการชุมชนป่ามะพร้าวร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออกปี 2560 เพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกและให้มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนเกิดความตระหนักในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพ ในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกําจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.บุคคล ครอบครัว ชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและมีส่วนในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในชุมชน 2. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายHouse Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10) 3. อัตราการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. สำรวจลูกน้ำยุงลาย

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม. เป็นประจำทุกเดือน  เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง/ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน  โดยข้อมูลการสำรวจตั้งแต่เดือนมกราคม – สิงหาคม  2560  จากผลการสำรวจดังกล่าวพบว่าค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุด  ในเดือนมกราคม  2560  ร้อยละ 17.47  และเดือนมิถุนายน 2560 น้อยที่สุด  ร้อยละ 9.34 สรุปโดยภาพรวมค่า HI เท่ากับ  13.78  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้  ( HI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ) ส่วนค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะใส่น้ำ  (CI)  โดยภาพรวมเท่ากับ  2.29  (ค่ามาตรฐาน  CI เท่ากับ 0)  และคาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน (BI)  โดยภาพรวมค่า BI เท่ากับ 16.60  (เกณฑ์ค่า BI น้อยกว่า 50)  ซึ่งโดยสรุปมีความเสี่ยงที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

     

    0 0

    2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

    วันที่ 27 กรกฎาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องชีวนิสัยของยุง  โรคไข้เลือดออก  การป้องกันโรคไข้เลือดออก  การสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย/การใช้ทรายทีมีฟอส  การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยสมุนไพร/ปลากินลูกน้ำ  เมื่อวันที่  27  กรกฎาคม  2560  ณ ชุมชนป่ามะพร้าว  มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 50 คน  โดยมีวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง  มาให้ความรู้ดังกล่าว  ซึ่งจากกิจกรรมดังกล่าวเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน/แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้  ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น

     

    50 50

    3. จัดตั้งธนาคารปลาในชุมชน

    วันที่ 28 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีธนาคารปลา (ปลาหางนกยูง) ในชุมชน โดยอยู่ที่ ศสมช.ชุมชนป่ามะพร้าว  เพื่อให้ชาวบ้านในชุมชนได้นำไปเลี้ยง 

     

    0 0

    4. รณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน

    วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน  ซึ่งได้เดินรณรงค์แจกแผ่นปลิวความรู้ เรื่อง การป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วย 5 ป 1 ข คือ  ปิด : ปิดภาชนะน้ำขัง  ปล่อย : ปล่อยปลากินลูกน้ำ เปลี่ยน : เปลี่ยนน้ำในภาชนะทุก 7 วัน  ปรับปรุง : ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในและรอบบ้าน  ปฏิบัติ : ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัย และ ขัด : ขัดภาชนะก่อนเปลี่ยนน้ำกำจัดไข่ยุง  พร้อมใส่ทรายอะเบทในภาชนะเก็บน้ำใช้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน  นอกจากนี้ยังประชาสัมพันธ์ให้ชาวชุมชนช่วยกันปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ภายในบ้าน และบริเวณนอกบ้านทุกหลังคาเรือน

     

    0 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องชีวนิสัยของยุง  โรคไข้เลือดออก  การป้องกันโรคไข้เลือดออก  การสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย/การใช้ทรายทีมีฟอส  การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยสมุนไพร/ปลากินลูกน้ำ  เมื่อวันที่  27  กรกฎาคม  2560  ณ ชุมชนป่ามะพร้าว  มีผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 50 คน  โดยมีวิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 จ.ตรัง  มาให้ความรู้ดังกล่าว  ซึ่งจากกิจกรรมดังกล่าวเป็นการส่งเสริมให้ประชาชน/แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้  ความเข้าใจในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกมากขึ้น
    2. กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน  ซึ่งได้เดินรณรงค์แจกแผ่นปลิวความรู้ เรื่อง การป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วย 5 ป 1 ข คือ  ปิด : ปิดภาชนะน้ำขัง  ปล่อย : ปล่อยปลากินลูกน้ำ เปลี่ยน : เปลี่ยนน้ำในภาชนะทุก 7 วัน  ปรับปรุง : ปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในและรอบบ้าน  ปฏิบัติ : ปฏิบัติเป็นประจำจนเป็นนิสัย และ ขัด : ขัดภาชนะก่อนเปลี่ยนน้ำกำจัดไข่ยุง  พร้อมใส่ทรายอะเบทในภาชนะเก็บน้ำใช้และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน  นอกจากนี้ยังประชาสัมพันธ์ให้ชาวชุมชนช่วยกันปรับปรุงสิ่งแวดล้อม ภายในบ้าน และบริเวณนอกบ้านทุกหลังคาเรือน
    3. มีธนาคารปลา (ปลาหางนกยูง) ในชุมชน โดยอยู่ที่ ศสมช.ชุมชนป่ามะพร้าว  เพื่อให้ชาวบ้านในชุมชนได้นำไปเลี้ยง
    4. กิจกรรมสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน โดย อสม. เป็นประจำทุกเดือน  เพื่อเป็นการเฝ้าระวัง/ป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน  โดยข้อมูลการสำรวจตั้งแต่เดือนมกราคม – สิงหาคม  2560  มีผลการสำรวจหาค่า  HI  CI และ BI ในชุมชนป่ามะพร้าว ดังนี้ เดือน จำนวนบ้านที่สำรวจ (หลัง) ค่า HI ค่า CI ค่า BI มกราคม  2560 103 17.47 2.69 21.35 กุมภาพันธ์  2560 86 17.44 3.24 23.25 มีนาคม  2560 105 11.42 1.62 12.38 เมษายน  2560 112 16.07 2.26 16.96 พฤษภาคม  2560 109 12.84 2.43 17.43 มิถุนายน  2560 107 9.34 1.89 9.34 กรกฎาคม  2560 110 11.81 1.96 14.54 สิงหาคม  2560 108 13.88 2.26 17.59 เฉลี่ย 13.78 2.29 16.60 จากผลการสำรวจดังกล่าวพบว่าค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน (HI) สูงที่สุด  ในเดือนมกราคม  2560  ร้อยละ 17.47  และเดือนมิถุนายน 2560 น้อยที่สุด  ร้อยละ 9.34 สรุปโดยภาพรวมค่า HI เท่ากับ  13.78  ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้  ( HI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 ) ส่วนค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะใส่น้ำ  (CI)  โดยภาพรวมเท่ากับ  2.29  (ค่ามาตรฐาน  CI เท่ากับ 0)  และคาดัชนีลูกน้ำยุงลายที่พบในภาชนะต่างๆ ในครัวเรือน (BI)  โดยภาพรวมค่า BI เท่ากับ 16.60  (เกณฑ์ค่า BI น้อยกว่า 50)  ซึ่งโดยสรุปมีความเสี่ยงที่จะเกิดการแพร่ระบาดของโรคไขเลือดออก
      จากการดำเนินกิจกรรมของโครงการฯ  ทางชุมชนป่ามะพร้าวไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน  และยังคงดำเนินการเฝ้าระวังป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง  โดยการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน  โดย อสม./แกนนำสุขภาพในชุมชน
    5. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ  จำนวน  15,900 บาท  ดังนี้ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

    - ค่าวิทยากรบรรยาย 6 ชม. x 600 บ./ชม.     เป็นเงิน  3,600  บาท - ค่าอาหารกลางวัน 50 คน x 70 บ.x 1 มื้อ     เป็นเงิน  3,500  บาท - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม 50 คน x 30 บ.x 2 มื้อ     เป็นเงิน  3,000  บาท - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน (ขนาด 1.002.50 ม.)         เป็นเงิน    300  บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แผ่นปลิวความรู้     เป็นเงิน    300  บาท - ค่าวัสดุอุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง     เป็นเงิน  1,800  บาท กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกในชุมชน - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ 3 ผืน (ขนาด 12.50 ม.)        เป็นเงิน    900  บาท - ทรายอะเบท     เป็นเงิน  2,500  บาท จัดตั้งธนาคารปลาในชุมชน  (ไม่มีค่าใช้จ่าย) กิจกรรมสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกเดือน  (ไม่มีค่าใช้จ่าย) รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  15,900.-  บาท  (หนึ่งหมื่นห้าพันเก้าร้อยบาทถ้วน) หมายเหตุ  :  ทางกลุ่ม อสม.ชุมชนป่ามะพร้าว ไม่ขอเบิกเงินส่วนเกิน จำนวน 100 บาท ขอเบิกจ่ายเพียง 15,800 บาทเท่านั้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพ ในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : ประชาชน/แกนนำสุขภาพในชุมชน จำนวน 50 คนมีความรู้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

     

    2 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกําจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในบ้าน House Index น้อยกว่าหรือเท่า 10 (HI ≤10)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพ ในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการกําจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในบ้านเรือนและชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนป่ามะพร้าว ร่วมใจต้านภัยไข้เลือดออก ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L6895-02-28

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปราณี ไกรว่อง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด