กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน ”

ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรุณี ศรีทองช่วย

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ที่อยู่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1515-02– 19 เลขที่ข้อตกลง 028/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1515-02– 19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลหนองปรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าและมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต การพัฒนาเด็กให้ได้รับความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา จึงนับเป็นภารกิจสำคัญของโรงเรียนที่จะต้องตระหนัก และให้ความสำคัญ เพื่อให้การพัฒนาเด็กเป็นไปอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐานเหมาะสมกับวัย พร้อมที่จะเปิดกว้างในการรับรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ดี การพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพของนักเรียนในโรงเรียนจึงเป็นจุดเริ่มต้นของการดูแลสุขภาพของเด็กในวัยเรียน โดยโรงเรียนจะต้องดำเนินการให้ความรู้ แนวปฏิบัติ เสริมสร้าง และแนวทางแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ ให้นักเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ รู้จักออกกำลังกาย เพื่อสร้างให้ร่างกายแข็งแรงมีพลานามัยสมบูรณ์ และรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้เจ็บป่วย และมีสุขภาพจิตที่ดี ซึ่งการที่ผู้เรียนมีสุขภาพที่ดีและสุขภาพจิตที่ดีจะส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอย่างสูงสุด
ในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อยได้ชั่งน้ำหนัก และวัดส่วนสูงนักเรียนทุกคน โดยเปรียบ เทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัยตามเกณฑ์อายุและเพศของนักเรียนปรากฏว่า มีนักเรียนที่มีปัญหาภาวะ ทุพโภชนาการ และนักเรียนที่มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดำเนินการส่งเสริมด้านโภชนาการให้กับนักเรียน อันเป็นการส่งเสริมพัฒนาทางด้านร่างกายให้แก่นักเรียนให้ได้รับการพัฒนาตนตามมาตรฐานการศึกษาของชาติที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้เก่ง ดี มีความสุขทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และสติปัญญาต่อไป
โรงเรียนบ้านหนองบัวน้อยจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนขึ้น เพื่อให้นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย อันเป็นรากฐานที่จะทำให้นักเรียนมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดีพร้อมที่จะเปิดกว้างเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ ได้ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน

วันที่ 23 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ขั้นเตรียมการ (P) 1.1 ศึกษาผลการดำเนินโครงการในปีที่ผ่านมา 1.2 ศึกษาบริบทและสภาพความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงการ 1.3 ประชุมวางแผนจัดทำโครงการ และเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ
  2. ขั้นดำเนินการ (D) 2.1 ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงโครงการ และมอบหมายภาระงาน 2.2 ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ 2.2.1 กิจกรรมแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน
    1) ชั่งน้ำหนัก – วัดส่วนสูงของนักเรียนทุกเดือน 2) นำข้อมูลน้ำหนัก – ส่วนสูงของนักเรียนมาวิเคราะห์เปรียบเทียบตามเกณฑ์ของกรมอนามัย 3) จัดอาหารเสริมนมให้กับนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการน้ำหนัก – ส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์และนักเรียนที่มีความเสี่ยงที่จะมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ
    4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายตอนเช้าทุกวันจันทร์  พุธและศุกร์
  3. ขั้นนิเทศติดตามผล (C) 3.1 ผู้รับผิดชอบโครงการนิเทศติดตามผลการดำเนินงาน และคอยอำนวยความสะดวกในการดำเนิน       กิจกรรมให้เป็นไปตามภาระงาน
  4. ขั้นประเมินผลและรายงานผล (A) 4.1 ประเมินโครงการ 4.2 สรุปผลการดำเนินโครงการ และจัดทำรายงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 85 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ กรมอนามัย
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 85 ของนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการมีภาวะ โภชนาการตามเกณฑ์ของกรมอนามัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ของ    กรมอนามัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแก้ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กนักเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1515-02– 19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรุณี ศรีทองช่วย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด