กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า


“ โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา ”

ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
อสม.หมู่ที่8

ชื่อโครงการ โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5293-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 มีนาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5293-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก นับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งโรคไข้เลือดออกนั้นก่อให้เกิดผลกระทบในหลายด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย จิตใจ รายได้ หน้าที่การงาน สังคม และอาจส่งผกระทบต่อชีวิต โดยจะพบผู้ป่วยในทุกพื้นที่เป็นประจำทุกปี จนอาจกล่าวได้ว่าโรคไข้เลือดออกเป็นโรคประจำท้องถิ่นของทุกพื้นที่
สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในจังหวัดสตูล พบว่าในปี ๒๕๕๙ มีผู้ป่วย ๑,๗๙๖ ราย อัตรา ๕๗๓.๑๕ ต่อแสนประชากร ( สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล ) อำเภอทุ่งหว้าเป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยนับตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๙ ถึงวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๙ พบว่า จากรายงานมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกรวม จำนวนทั้งสิ้น ๑๑๓ คน ไม่มีรายงานการเสียชีวิต โดยพบผู้ป่วยเพศชายมากกว่าเพศหญิง เป็นเพศชาย ๖๒ คน เพศหญิง ๕๑ คน กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือ กลุ่มอายุ ๑๕-๒๔ ปี รองลงมาคือ กลุ่มอายุ ๑๐-๑๔ ปี , ๕-๙ ปี , ๒๕-๓๔ ปี , ๐-๔ ปี , ๓๕-๔๔ ปี , ๔๕-๕๔ ปี ๕๕-๖๓ ปี และ ๖๕ ปีขึ้นไป จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ ๒๙ , ๑๕ , ๑๒ , ๑๐ , ๙ , ๔ , ๔ และ ๑ ตามลำดับ และในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้า พบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน ๗๘ ราย ซึ่งในหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสาพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน ทั้งหมดจำนวน ๓๐ คน (งานสุขาภิบาลและการโรค โรงพยาบาลทุ่งหว้า , ๒๕๖๐) การดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้น จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค ซึ่งเริ่มจากบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยมี อสม. เป็นแกนนำในการดำเนินการเฝ้าระวังและรณรงค์ในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และเยาวชนในชุมชนถือเป็นกำลังสำคัญกลุ่มหนึ่งในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก
ดังนั้น อสม.หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสาจึงร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งหว้า จัดทำโครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสาขึ้นเพื่อสร้างกลุ่มแกนนำเยาวชนในชุมชนในการเป็นแรงขับเคลื่อนในการดำเนินงานเฝ้าระวัง การรณรงค์ การทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย ตลอดจนการกระตุ้นคนในชุมชนให้มีความตระหนักในการแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ทำให้การดำเนินงานมีความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้เยาวชนหมู่ที่ ๘ มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้
  2. ๒. เพื่อให้แกนนำเยาวชนหมู่ที่ ๘ มีส่วนร่วมในการทำนวัตกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. เพื่อให้แกนนำเยาวชนในหมู่ที่ ๘ มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้ ๒. เพื่อให้แกนนำเยาวชนหมู่ที่ ๘ เกิดการร่วมมือและมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมเพื่อป้องกันตนเองและครอบครัวให้ห่างไกลจากโรคไข้เลือดออก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อให้เยาวชนหมู่ที่ ๘ มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม ๒. ร้อยละ ๘๐ ของสมาชิกกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการเข้าอบรม

     

    2 ๒. เพื่อให้แกนนำเยาวชนหมู่ที่ ๘ มีส่วนร่วมในการทำนวัตกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : มีนวัตกรรมเกี่ยวกับไข้เลือดออก

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้เยาวชนหมู่ที่ ๘ มีความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออกและสามารถถ่ายทอดความรู้สู่คนในชุมชนได้ (2) ๒. เพื่อให้แกนนำเยาวชนหมู่ที่ ๘ มีส่วนร่วมในการทำนวัตกรรมในการป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผนึกกำลังเยาวชนรุ่นใหม่ต้านภัยไข้เลือดออก หมู่ที่ 8 บ้านควนตำเสา จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5293-2-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อสม.หมู่ที่8 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด