กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มิถุนายน 2560 ถึง 21 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มิถุนายน 2560 - 21 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,400.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสิ่งแวดล้อมเนื่องจากขยะทุกวันนี้มีปริมาณขยะมูลฝอยเป็นจำนวนมาก ตามสถานที่ต่าง ๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้นซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม คือ 1. อากาศเสีย เกิดจากการเผามูลฝอยกลางแจ้งทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ 2. น้ำเสีย เกิดจากการกองมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้นเมื่อฝนตกจะเกิดน้ำเสียซึ่งไหลลงสู่แม่น้ำทำให้เกิดภาวะมลพิษทางน้ำ 3. แหล่งพาหะนำโรค จากมูลฝอยตกค้างบนพื้นจะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน 4. เหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมดทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน
การจัดการขยะมูลฝอย ทำได้โดย กิจกรรม 5 R ซึ่ง 5 R จะประกอบดวย R 1 (Reduce) เปน การลดปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น โดยลดการใชผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑที่สิ้นเปลือง R 2 (Reuse) เปนการนําขยะมูลฝอยกลับมาใชกอนจะทิ้งหรือเลือกใชของใหม เชน ขวดแกว กลองกระดาษ กระดาษพิมพหนาหลัง R 3 (Repair) เปนการนําวัสดุอุปกรณที่ชํารุดเสียหายซึ่งจะทิ้งเปนมูลฝอย มาซอมแซมใหมใหสามารถใชงานตอได R 4 (Reject) เปนการหลีกเลี่ยงการใชสิ่งที่ กอใหเกิดมลพิษหรือทําลายยาก เชน โฟม R 5 (Recycle) เปนการแปรสภาพ และหมุนเวียนกลับมาใชประโยชนไดใหมโดยนําไป ผานกระบวนการผลิตใหมอีกครั้ง จากสถานการณ์ขยะในตำบลบาโงสะโตมีปริมาณมากขึ้นเรื่อยๆและมีแนวโน้มว่าจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ บวกกับไม่มีที่กำจัดขยะจึงเกิดการหมักหมมส่งให้มีกลิ่นเหม็นโดยเฉพาะขยะที่กำจัดยากได้แก่ขยะเปียกทำให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมโดยเฉพาะปริมาณขยะในที่สาธารณะที่มีอยู่อย่างเกลื่อนกลาด เช่น ริมถนนริมแม่น้ำลำคลองเป็นต้นโดยองค์การบริหารส่วนตำบลบาโงสะโตอำเภอระแงะจังหวัดนราธิวาสแบ่งการปกครองออกเป็น 8 หมู่บ้านมีเนื้อที่ 70.447 ตารางกิโลเมตรมีจำนวนประชากร 10,462 คนมีจำนวนหลังคาเรือน 2,127 หลังคาเรือนพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ชุมชนชนบทปัจจุบันปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบาโงสะโต มีจำนวน 9.4 ตันต่อวัน (คาดการณ์ตามจำนวนประชากร)
การดำเนินการจัดการขยะในพื้นที่ตำบลบาโงสะโตให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะในเรื่องของขยะมูลฝอย ซึ่งจำเป็นต้องมีการจัดการขยะมูลฝอยอย่างเร่งด่วน ตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

พ.ศ ๒๕๕๗โดยอาศัยอำนาจตามความในข้อ ๒ ของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ ๒๕๕๗ประเภทที่ ๒ เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มหรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันโรคให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบาโงสะโตโดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบาโงสะโต ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเกและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงสะโต จึงได้จัดทำโครงการโครงการโครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะปีงบประมาณ ๒๕๖๐โดยมีกิจกรรมรณรงค์เดินเก็บขยะทั้งตำบล เพื่อนำไปสู่การส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการลดปัญหาขยะมูลฝอยจัดการขยะในตำบลบาโงสะโตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในพื้นที่มีจิตสำนึกในการทิ้งขยะมากขึ้น
    2. ประชาชนสามารถ รับรู้ มองเห็นปัญหา ที่เกิดขึ้นในสังคมแล้วกลับมาปรับปรุงแก้ไขที่ตัวของเราเอง
    3. ประชาชนสามารถใช้พื้นที่ตรงนี้ฝึกฝน ขัดเกลา ปรับปรุง พัฒนา สภาวะจิตใจตัวเอง
    4. ประชาชนตระหนักในการปฎิบัติตัวในการทิ้งขยะ โดยการทำให้ดู ทำให้ดี และทำเป็นแบบอย่าง
    5. ลดปริมาณขยะในชุมชน
    6. ประชาชน ผู้นำท้องที่ ผู้นำท้องถิ่น ผู้นำศาสนา นักเรียน และหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่ ได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างพลังชุมชน เพื่อลดปัญหาขยะมูลฝอย ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด