โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวสมพิศ โคพิชัย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห
พฤศจิกายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L755-5- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L755-5- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,775.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ที่มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วในหลายประเทศทั่วโลกกว่า 129 ประเทศ เป็นโรคระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) ที่มีการติดเชื้อจากคนไปสู่คน ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 3,141 คน พบผู้เสียชีวิต 58 คน (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 167 วันที่ 18 มิถุนายน 2563) หลายประเทศมีมาตรการในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคด้วยการปิดเมืองปิดประเทศ หรือหยุดกิจการบางประเภท ส่งผลให้แรงงานชาวไทยหรือนักศึกษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งในต่างประเทศและภายในประเทศมีการเดินทางกลับภูมิลำเนา จึงจำเป็นต้องมีการลงพื้นที่สำรวจ ค้นหากลุ่มเสี่ยง เพื่อประโยชน์ในการติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ต่อไป
กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงแนวทางปฏิบัติในการเปิดสถานศึกษา ให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยสร้างองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคโควิด 19 แนวปฏิบัติสําหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลนักเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และแม่ครัว ผู้จําหน่ายอาหาร ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาด การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และความรอบรู้ด้านสุขภาพนักเรียน ตลอดจนขั้นตอนการดําเนินงานคัดกรองและส่งต่อแบบประเมินตนเองสําหรับสถานศึกษา แบบประเมินตนเองสําหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสําหรับนักเรียน การจัดการเรียนการสอนช่วงเปิดภาคเรียน บทเรียนแนวปฏิบัติช่วงเปิดเรียน ที่อาจส่งผลกระทบในหลายด้าน ทั้งต่อตัวเด็ก ผู้ปกครอง ไปจนถึงครูและโรงเรียน เพราะภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ที่ไม่มีใครเคยพบเจอมาก่อน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำทุกวิถีทาง เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนสามารถเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงจำเป็นต้องวางแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์วิกฤตโควิด-19 ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ
ดังนั้น โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย ร่วมกับ เทศบาลเมืองคลองแห และรพสต คลองแห เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ยสามารถปรับตัวกับสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้น โดยมีมาตรการรองการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 โดยจัดทำโครงการ เยาวชนแจ่มใส่ บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนและให้ความรู้แจ้งข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน และลดอัตราการเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบและวิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรมป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ประเมินสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์โคโรนา 2019 ในโรงเรียน และแจ้งผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย
- ประชุมสรุปผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนทราบ
- สรุปผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
116
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ยมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองและคนในครอบครัวในการป้องกันโรคโควิด-19
2 นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าไทรมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19 และไม่มีผู้ป่วยหรือกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
0.00
2
ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงไวรัสโคโรนา 2019 ในโรงเรียนบ้านท่าไทร
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
116
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
116
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบและวิธีการดำเนินงาน (2) กิจกรรมป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) ประเมินสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์โคโรนา 2019 ในโรงเรียน และแจ้งผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนทราบ (5) สรุปผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L755-5-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวสมพิศ โคพิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวสมพิศ โคพิชัย
พฤศจิกายน 2563
ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L755-5- เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 30 พฤศจิกายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L755-5- ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 30 พฤศจิกายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,775.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ที่มีการแพร่ระบาดอย่างรวดเร็วในหลายประเทศทั่วโลกกว่า 129 ประเทศ เป็นโรคระบาดใหญ่ทั่วโลก (Pandemic) ที่มีการติดเชื้อจากคนไปสู่คน ประเทศไทยพบผู้ป่วยยืนยัน 3,141 คน พบผู้เสียชีวิต 58 คน (ข้อมูลจาก : รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ฉบับที่ 167 วันที่ 18 มิถุนายน 2563) หลายประเทศมีมาตรการในการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคด้วยการปิดเมืองปิดประเทศ หรือหยุดกิจการบางประเภท ส่งผลให้แรงงานชาวไทยหรือนักศึกษาที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เสี่ยงทั้งในต่างประเทศและภายในประเทศมีการเดินทางกลับภูมิลำเนา จึงจำเป็นต้องมีการลงพื้นที่สำรวจ ค้นหากลุ่มเสี่ยง เพื่อประโยชน์ในการติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่ออันตราย โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 ต่อไป
กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ ตระหนักถึงแนวทางปฏิบัติในการเปิดสถานศึกษา ให้นักเรียนและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถดํารงชีวิตอยู่ได้อย่างปลอดภัย โดยสร้างองค์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคโควิด 19 แนวปฏิบัติสําหรับบุคลากรในสถานศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าของสถานศึกษา ครู ผู้ดูแลนักเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และแม่ครัว ผู้จําหน่ายอาหาร ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาด การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมบริเวณต่าง ๆ ของสถานศึกษา มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 และความรอบรู้ด้านสุขภาพนักเรียน ตลอดจนขั้นตอนการดําเนินงานคัดกรองและส่งต่อแบบประเมินตนเองสําหรับสถานศึกษา แบบประเมินตนเองสําหรับนักเรียน แบบบันทึกการตรวจคัดกรองสุขภาพสําหรับนักเรียน การจัดการเรียนการสอนช่วงเปิดภาคเรียน บทเรียนแนวปฏิบัติช่วงเปิดเรียน ที่อาจส่งผลกระทบในหลายด้าน ทั้งต่อตัวเด็ก ผู้ปกครอง ไปจนถึงครูและโรงเรียน เพราะภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ที่ไม่มีใครเคยพบเจอมาก่อน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำทุกวิถีทาง เพื่อให้การจัดการเรียนการสอนสามารถเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด จึงจำเป็นต้องวางแนวทางการจัดการเรียนการสอนภายใต้สถานการณ์วิกฤตโควิด-19 ด้วยการดำเนินมาตรการการรักษาร่างกายให้แข็งแรง ออกกำลังกายเพื่อมิให้ป่วย การป้องกันตนเอง เช่น หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในประเทศหรือสถานที่มีคนพลุกล่าน การล้างมือให้สะอาดอย่างถูกต้อง ทั้งด้วยแอลกอฮอล์เจล สบู่ การสวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการ การไม่นำเอามือมาป้ายหรือ จับหน้า ความรู้และเข้าใจการดำเนินไปของโรค เป็นสิ่งสำคัญ
ดังนั้น โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย ร่วมกับ เทศบาลเมืองคลองแห และรพสต คลองแห เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ยสามารถปรับตัวกับสถานการณ์โควิด-19 ที่เกิดขึ้น โดยมีมาตรการรองการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ COVID-19 โดยจัดทำโครงการ เยาวชนแจ่มใส่ บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนและให้ความรู้แจ้งข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์แก่นักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน และลดอัตราการเสี่ยงต่อสุขภาพของนักเรียน และบุคลากรในโรงเรียน ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบและวิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรมป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ประเมินสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์โคโรนา 2019 ในโรงเรียน และแจ้งผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย
- ประชุมสรุปผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนทราบ
- สรุปผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 116 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ยมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลตนเองและคนในครอบครัวในการป้องกันโรคโควิด-19
2 นักเรียนโรงเรียนบ้านท่าไทรมีพฤติกรรมที่สามารถป้องกัน Covid-19 และไม่มีผู้ป่วยหรือกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) |
0.00 |
|
||
2 | ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน ตัวชี้วัด : ไม่มีผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงไวรัสโคโรนา 2019 ในโรงเรียนบ้านท่าไทร |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 116 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 116 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจและสร้างความตระหนักให้แก่นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) ป้องกันและเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผน กำหนดกลุ่มเป้าหมาย รูปแบบและวิธีการดำเนินงาน (2) กิจกรรมป้องกันและเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) ประเมินสถานการณ์ เฝ้าระวังสถานการณ์โคโรนา 2019 ในโรงเรียน และแจ้งผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินงานให้ผู้บริหารและกรรมการโรงเรียนทราบ (5) สรุปผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ เยาวชนแจ่มใส บ้านหนองนายขุ้ยร่วมใจ ห่างไกลไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L755-5-
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงเรียนบ้านหนองนายขุ้ย โดยนางสาวสมพิศ โคพิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......