กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางทิพวรรณ์ พัฒโน

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ"

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-2-39 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึง 14 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ"



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-2-39 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2563 - 14 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,120.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นับตั้งแต่เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส(COVID-๑๙) ทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในสังคมหลายอย่าง เช่น มีการปรับตัวในการใช้ชีวิต และการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การสวมใส่หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทาง สังคม เป็นต้น ซึ่งเหล่านี้ ประชาชนทุกคนได้ตระหนัก และให้ความสำคัญ ให้ความร่วมมือ จนเป็น ชีวิตวิถีใหม่ วิถีที่เรา ได้สร้างสุขอนามัยทั้งส่วนตัว และส่วนรวม เป็นวิถีที่เราได้เรียนรู้ ว่าการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย และจิตใจ เป็นสิ่งที่ จำเป็น นอกจากนี้ ชีวิตวิถีใหม่ หากมีระบบการจัดการที่ดี จะส่งผลต่อเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เป็นอย่างมาก ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลนครหาดใหญ่ จึงเห็นความสำคัญ ในการส่งเสริมให้ ประชาชนในพื้นที่ ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยการจัดให้มีการอบรมเชิง ปฏิบัติการของการสร้าง "New Nomal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" มีการจัดกิจกรรมสาธิตการล้างมือที่ถูกวิธี การให้ความรู้ แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคติดต่ออุบัติใหม่ การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพ การตระหนักถึงการเว้นระยะห่างทางสังคม ได้แก่ การเข้าคิวหรือเข้าแถวเว้นระยะห่างอย่างน้อย ๑-๒ เมตร การรับประทานอาหารด้วยช้อนกลางส่วนตัว การไม่ไป ในที่แออัด เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีบริการให้ประชาชนได้ตรวจคัดกรองสภาพจิตแบบง่ายๆได้ด้วยตนเอง วิเคราะห์ได้ ทันที จะช่วยให้ประชาชนสามารถประเมินตนเองว่ามีความเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางจิตหรือไม่ มีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัว ตายหรือไม่ ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวเป็นสิ่งที่ประชาชนทุกคนสามารถเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ได้โดยมีความ รับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคม ร่วมกันผลักดัน ให้ทุกคนในสังคมได้มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง จะทำให้ได้วิถีชีวิตแบบ ใหม่ ช่วยให้เราอยู่ร่วมกันอย่างปลอดภัยจากโรคร้าย จึงเป็นเสมือนการเริ่มต้นใหม่ของเราทุกคน การเริ่มปรับตัวใช้ชีวิต ในบริบทรูปแบบใหมให้เป็นนิสัย เพื่อให้มีชีวิตที่มีความสุขร่วมกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ชีวิตวิถีใหม่ ชีวิตดีเริ่มที่เรา
  2. เพื่อให้ประชาชนและบุคคลในครอบครัวได้มีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเองเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อ
  3. เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการคัดกรองสภาพจิตใจได้ด้วยตัวเอง
  4. เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เป็นแบบอย่างที่ถูกวิธีในการสร้าง "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" ให้แก่ประชาชนในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรม
  2. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการของการสร้าง "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ"
  3. การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพแบบง่ายๆในครอบครัว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความข้าใจ เกี่ยวกับ New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" 2. ประชาชนและบุคคลนครอบครัวได้มีอุปกรณีในการป้องกันตนเอง เป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อ 3.ประชาชนได้รู้ทันสภาพจิตใจของตนเอง และได้รับการตรวจรักษาอย่างถูกวิธี 4.ไม่มีผู้ติดเชื้อด้วยโรโคโรนาไวรัส 2019 รายใหม่ เกิดขึ้นในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ 5.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพแบบง่ายๆในครอบครัว

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

มีกิจกรรมในครอบครัว

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สร้าสรรค์สร้างจินตนาการให้กับเด็ก

 

100 0

2. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรม

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกียวกับชีวิตประจำวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค

 

0 0

3. การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการของการสร้าง "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ"

วันที่ 4 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ประชาชนได้รู้ทันเหตุการณ์และรู้ทันสภาพจิตใจของตัวเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนและครอบครัวได้รู้วิธีป้องกันตัวเองจากโรคต่อ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ชีวิตวิถีใหม่ ชีวิตดีเริ่มที่เรา
ตัวชี้วัด : ประชาชนผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนและบุคคลในครอบครัวได้มีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเองเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด : ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการและบุคคลในครอบครัวได้อุปกรณ์ป้องกัน โรคร้อยละ 100
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการคัดกรองสภาพจิตใจได้ด้วยตัวเอง
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้เข้าร่วมการคัดกรองสภาพจิตเบื้องต้น คิดเป็น ร้อยละ 70
0.00

 

4 เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เป็นแบบอย่างที่ถูกวิธีในการสร้าง "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" ให้แก่ประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ประเมินความพึงพอใจ โดยผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80 มีความพึงพอใจ ต่อการเข้าร่วมโครงการ ระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ ชีวิตวิถีใหม่ ชีวิตดีเริ่มที่เรา (2) เพื่อให้ประชาชนและบุคคลในครอบครัวได้มีอุปกรณ์ในการป้องกันตนเองเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อ (3) เพื่อให้ประชาชนได้เข้าถึงการคัดกรองสภาพจิตใจได้ด้วยตัวเอง (4) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เป็นแบบอย่างที่ถูกวิธีในการสร้าง "New Normal วิถีใหม่  ใส่ใจสุขภาพ" ให้แก่ประชาชนในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินกิจกรรม (2) การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการของการสร้าง "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" (3) การสาธิตเมนูอาหารเพื่อสุขภาพแบบง่ายๆในครอบครัว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมเชิงปฏิบัติการ "New Normal วิถีใหม่ ใส่ใจสุขภาพ" จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-2-39

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทิพวรรณ์ พัฒโน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด