กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นาวาเอกพิพัฒน์ พูลทรัพย์

ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-2-44 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2563 ถึง 14 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ)



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-2-44 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2563 - 14 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 510,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาเด็กเสียชีวิตจากการจมน้ำ เป็นสาเหตุการตายอันดับ 1 ในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี จากข้อมูลในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2552-2562) มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตสูงถึง 8,394 คน หรือเฉลี่ยปีละ 839 คน หรือวันละ  2.3 คน พบว่าร้อยละ 72 ของเด็กที่เจอคนตกน้ำจะช่วยชีวิตด้วยวิธีการกระโดดลงไปช่วย ทำให้ตัวเองจมน้ำไปด้วย ซึ่งร้อยละ 77.4 ของเด็กที่จมน้ำจะเสียชีวิต และในจำนวนเด็กที่ไปเล่นน้ำตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป พบว่า มากกว่าครึ่งหนึ่งเสียชีวิตพร้อมกัน โดยพบว่าส่วนใหญ่ขาดทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและไม่รู้วิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง (กรมควบคุมโรค, 2562) ข้อมูลสำนักงานป้องกันและควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา จังหวัดสงขลา ที่มีอัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคนเท่ากับ 5 - 7.4 จัดอยู่ในกลุ่มพื้นที่สีเหลือง คือเสี่ยงปานกลาง ในปี พ.ศ.2559 – 2562 มีผู้เสียชีวิตจำนวน 31 ราย เป็นเพศชาย จำนวน 19 ราย และเพศหญิง จำนวน 12 ราย สถานที่เกิดเหตุส่วนใหญ่เกิดในคลอง แม่น้ำ แก่งน้ำ น้ำตก รองลงมาเป็นคลองขุด ร่องขุด และคลองชลประทาน ฝายกั้นน้ำ และทะเล และจากการศึกษาของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคพบว่าเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ว่ายน้ำเป็นร้อยละ 23.7 และว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ มีความรู้ เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือเพียงร้อยละ 4.4 ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด จะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ มีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ มากกว่าคนที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า, 20.7 เท่า และ 2.7 เท่า ตามลำดับ
      การอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) เป็นโครงการที่จัดขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้เกิดการเรียนรู้และมีทักษะในการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด รวมไปจนถึงวิธีการให้ความช่วยเหลือหรือการปฐมพยาบาลช่วยคนจมน้ำได้อย่างปลอดภัย ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเป็นปัจจัย สำคัญที่จะช่วยป้องกันปัญหาการจมน้ำในกลุ่มเด็กอายุ ต่ำกว่า ๑๕ ปี อันจะส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตของเด็กในจังหวัดสงขลา ลดน้อยลงอย่างเป็นรูปธรรม ผลการประเมินการดำเนินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) ในปี 2562 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 90.20 มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ โดยหลังการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสูงกว่าก่อนฝึกอบรม โดยคะแนนเฉลี่ยหลังฝึกอบรม เท่ากับ 4.59 และคะแนนเฉลี่ยก่อนฝึกอบบรม เท่ากับ 2.81 และหลังฝึกภาคปฏิบัติผู้เข้าร่วมฝึกอบรมมีทักษะการลอยตัว และการว่ายน้ำสูงกว่าก่อนฝึกภาคปฏิบัติ โดยคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังฝึกภาคปฏิบัติเท่ากับ 2.63 และ 4.65 ตามลำดับ
      ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินโครงการดังกล่าวเป็นไปอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลดีต่อท้องถิ่น อีกทั้งเพื่อลดอัตราการตายจากการจมน้ำในเด็กและเยาวชน โรงพยาบาลฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ 2 จึงได้จัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) ขึ้น เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในชุมชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ และมีความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและ การปฐมพยาบาลให้การช่วยเหลือในเบื้องต้น และเพื่อให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
  2. เพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในจังหวัดสงขลา อายุต่ำกว่า 15 ปี
  3. เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วย การหยิบ ยื่น โยน วัสดุใกล้ตัวอย่างถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ปัญหาการเสียชีวิตจากการจมน้ำลดลง

  2. เด็ก เยาวชนและประชาชน ได้รับความรู้พื้นฐานในการช่วยเหลือผู้จมน้ำและการปฐมพยาบาล

  3. เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ได้รับความรู้ในการป้องกันการจมน้ำ การเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 7 มกราคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อเรียนรู้ทักษะการอช่วยเหลือป้องกันการจมน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ความรู้การช่วยเหลือผู้อื่นและเอาตัวลอดจากการจมน้ำ

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมฝึกผ่านการประเมินทักษะการฝึกปฏิบัติ ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในจังหวัดสงขลา อายุต่ำกว่า 15 ปี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเข้าร่วมกิจกรรมการอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
0.00

 

3 เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วย การหยิบ ยื่น โยน วัสดุใกล้ตัวอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความพึงพอใจต่อกระบวนการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีความรู้และทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำได้ (2) เพื่อลดอัตราการสูญเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กในจังหวัดสงขลา อายุต่ำกว่า 15 ปี (3) เพื่อให้เด็ก เยาวชนและประชาชน ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ มีทักษะการช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางน้ำด้วย การหยิบ ยื่น โยน วัสดุใกล้ตัวอย่างถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมเชิงปฏิบัติการฝึกการลอยตัวและว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด (เด็กไทยไม่จมน้ำ) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-2-44

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นาวาเอกพิพัฒน์ พูลทรัพย์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด