กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ


“ โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560 ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มก๊อลบุล วาฮิด อำเภอยี่งอ (โดยนายลุกมาน มามะ)

ชื่อโครงการ โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2498-02-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2498-02-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาการกำจัดขยะเป็นปัญหาในภาพใหญ่ของหลายๆ ประเทศ ซึ่งประเทศไทยเองก็กำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลา ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นมากมายทุกวัน ส่งผลให้มีขยะตกค้าง เป็นจำนวนมาก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสภาพความเป็นอยู่ในชุมชนมากมาย ได้แก่ บ้านเมืองสกปรกไม่น่ามอง เสียทัศนียภาพ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์ และพาหะนำโรคต่างๆ เช่น หนู แมลงสาบ แมลงวัน ทั้งยังเป็นแหล่แพร่เชื้อโรคโดยตรง เช่น อหิวาตกโรค อุจจาระร่วง บิด โรคผิวหนัง บาดทะยัก ระบายน้ำอุดตัน อันเป็นสาเหตุของปัญหาน้ำท่วม เป็นแหล่งกำเนิดมลพิษทางอากาศ เช่น ฝุ่นละออง เขม่าควันจากการเผาขยะ และเกิดก๊าซมีเทนจากการฝังกลบขยะ และขยะบางชนิดไม่ย่อยสลาย และกำจัดได้ยาก เช่น โฟม พลาสติก ทำให้เกิดสารตกค้างทำลายสิ่งแวดล้อม เป็นผลให้อุณหภูมิโลกเพิ่มสูงขึ้น จนเกิดภาวะโลกร้อน (Globle Warmming) ดังนั้น ทางกลุ่มก๊อลบุลวาฮิด อำเภอยี่งอ เล็งเห็นความสำคัญของการแก้ไขปัญหาการจัดการขยะ จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวขึ้น โดยมุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธิ์เป็นรูปธรรม โดยสอดคล้องกับพื้นที่และสถานการณ์ปัจจุบัน ซึ่งจำเป็นต้องอาศัยกระบวนการการเรียนรู้ในชุมชนในการจัดการขยะของภาคประชาชนอย่างมีส่วนร่วมร่วมกันเป็นหลักเพื่อนำไปสู่การสร้างจิตสำนึกในการสร้างสิ่งแวดล้อมแก่ชุมชน ที่มีผลต่อสุขภาพที่ดี โดยร่วมกันลดขยะและการจัดการขยะที่ดี ควบคู่กับการสร้างรายได้เสริม สร้างความสามัคคีและความคิดสร้างสรรค์ในการเสริมแรงพลังชุมชนในการดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชนอย่างเข็มแข็งและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในชุมชนในการดูแลจัดการขยะและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง
  2. เพื่อให้ชุมชนรู้วิธีพัฒนาทักษะส่วนบุคคลที่เสริมสร้างชุมชนสุขภาพดีและเข็มแข็ง
  3. เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่มีความรู้วิธีจัดการขยะของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ชุมชนมีความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะและสิ่งแวดล้อมของชุมชนตนเองอย่างมีส่วนร่วมกันโดยสามารถสร้างรายได้และสุขภาพที่ดี 2.ชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านและชุมชน กระตุ้นสร้างสุขภาพที่ดีแก่ตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมเสริมความรู้และสาธิตการจัดการขยะโดยการใช้ประโยชน์จากขยะ

    วันที่ 4 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะในการคัดแยกขยะในครัวเรือนแยก จำนวน 300 คน คิดเป็นร้อยละ 100
    • มีครัวเรือนเข้าร่วมอาสากิจกรรมนี้ จำนวน 300 หลังคาเรือน
    • เกิตกติกาของชุมชนเมื่อขยะที่คัดแยกแล้วถูกรวบรวมขยะที่ถูกคัดแยก คือ มัสยิดแต่ละหมู่บ้าน และกลุ่มเยาวชนจะจำหน่ายและมาช่วยเหลือมัสยิด

     

    300 300

    2. ปฏิบัติการคัดแยกขยะในครัวเรือน/ชุมชน และใช้ประโยชน์จากขยะ

    วันที่ 24 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    • มีครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ จำนวน 300 ครัวเรือน
    • นำขยะที่คัดแยกไปจำหน่ายสามารถเป็นกองทุนรายได้ส่วนหนึ่งช่วยเหลือมัสยิดและคนในชุมชน

     

    300 300

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    • ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้และทักษะในการคัดแยกขยะในครัวเรือนแยก จำนวน 300 คน ร้อยละ 100
    • มีครัวเรือนเข้าร่วมอาสากิจกรรมนี้ จำนวน 300 หลังคาเรือน
    • เกิดกติกาของชุมชนเมื่อขยะที่คัดแยกแล้วถูกรวบรวมขยะที่ถูกคัดแยก คือ มัสยิดแต่ละหมู่บ้านมัสยิด และมีแกนนำกลุ่มเยาวชนจะจำหน่ายและมาช่วยเหลือมัสยิด
    • มีครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะ จำนวน 300 ครัวเรือน
    • นำขยะที่คัดแยกไปจำหน่ายสามารถเป็นกองทุนรายได้ส่วนหนึ่งช่วยเหลือมัสยิดและคนในชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในชุมชนในการดูแลจัดการขยะและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง
    ตัวชี้วัด : ครัวเรือน/ชุมชนมีความรู้และสามารถระบุวิธีการคัดแยกขยะและประเภทขยะได้ ปริมาณขยะในครัวเรือน/ชุมชนที่ต้องจัดการลดลงร้อยละ 50 ครัวเรือนร้อยละ 50 มีการคัดแยกขยะ/ใช้ประโยชน์จากขยะ

     

    2 เพื่อให้ชุมชนรู้วิธีพัฒนาทักษะส่วนบุคคลที่เสริมสร้างชุมชนสุขภาพดีและเข็มแข็ง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่มีความรู้วิธีจัดการขยะของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนในชุมชนในการดูแลจัดการขยะและสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพของตนเอง (2) เพื่อให้ชุมชนรู้วิธีพัฒนาทักษะส่วนบุคคลที่เสริมสร้างชุมชนสุขภาพดีและเข็มแข็ง (3) เพื่อให้ชุมชนในพื้นที่มีความรู้วิธีจัดการขยะของตนเอง เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขยะความดี สร้างสุขภาพดีวิถีชุมชน ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2498-02-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( กลุ่มก๊อลบุล วาฮิด อำเภอยี่งอ (โดยนายลุกมาน มามะ) )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด