กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่


“ โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563 ”

ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณี ฉาฉ่ำ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2487-2-19 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลศาลาใหม่ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2487-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ศาลาใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปีงบประมาณ 2556 กระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โดยใช้แนวทางการดำเนินงานที่มีชื่อว่า “ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี” เป็นระบบการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของกลุ่มปกติ/เสี่ยง/ป่วย โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย:นโยบายสู่การปฏิบัติสำหรับสถานบริการสุขภาพระดับ ปฐมภูมิฉบับนี้ได้ประยุกต์จากแนวคิดการคัดกรองประชาชน อายุ 15-65 ปีขึ้นไป ตามแนวทางปิงปองจราจรชีวิต 7 สี ภายใต้ระบบการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกัน โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ในประเทศไทย : นโยบาย สู่ การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมให้พื้นที่นำสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างสอดคล้องเชื่อมโยงอย่างเหมาะสม สู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม โดยเน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส. (ดื่มสุรา สูบบุหรี่) ในการควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง ซึ่งมีหลักการดำเนินงาน ดังนี้ ขั้นที่หนึ่งคัดกรองประชาชน อายุ 15-65 ปีขึ้นไป และจำแนกเป็น 7 สี/7 กลุ่ม คือ กลุ่มปกติ (สีขาว) กลุ่มเสี่ยง (สีเขียวอ่อน) และกลุ่มป่วยต้องกินยาควบคุมอาการ ได้แก่ ป่วยระดับ 0 (สีเขียวเข้ม) ป่วยระดับ 1 (สีเหลือง) ป่วยระดับ 2 (สีส้ม) ป่วยระดับ 3 (สีแดง) และป่วยรุนแรงมีภาวะแทรกซ้อน เช่น ตา ไต เท้า (สีดำ) ขั้นที่สองดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. (อาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์) 2 ส. (สุรา สูบบุหรี่) เพื่อควบคุมป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคสมอง โรคไตวาย โรคมะเร็ง ขั้นที่สามกระบวนการสุขศึกษาในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสี่การติดตามประเมินผลจากระดับความสีที่ลดลงซึ่งลดความรุนแรงลง จากการคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตและเบาหวาน ในกลุ่มอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในปีงบประมาณ 2562 พบกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 169 คน และพบกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 34 คน ซึ่งมีจำนวนที่เพิ่มขึ้น และส่งผลต่อการเพิ่มอัตราผู้ป่วยรายใหม่ได้ ต้องส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความตระหนักที่ยั่งยืน ทั้งในด้านอาหาร ออกกำลังกาย อารมณ์ ซึ่งส่วนใหญ่ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอาหาร ที่ต้องส่งเสริมการบริโภค ผัก ผลไม้ ลดละเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่างๆเช่น ลดปริมาณข้าว เลี่ยงน้ำบูดู ฯลฯ และใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน เมนูอาหารเป็นยา เมนูชูสุขภาพ ผักสมุนไพรเพื่อสุขภาพ เพื่อการส่งเสริมและป้องกันโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการคัดกรองตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสม
  2. อัตราการป่วย/ตายด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพฤกษ์ อัมพาตลดลง
  3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง
ตัวชี้วัด : กลุ่ม/ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย มีการรวมตัวกันตรวจสุขภาพ บันทึกผล ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และติดตามเฝ้าระวังสุขภาพด้วยตัวเองผ่านกระบวนการของปิงปอง 7 สี อย่างต่อเนื่องทุกๆ 3 เดือน
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยสีเหลือง สีส้ม สีแดง และสีดำ มีการเปลี่ยนแปลงของสีที่ดีขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 50 ของคนที่เข้าร่วมทั้งหมด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมและเกิดความยั่งยืนในการดูแลสุขภาพของคนในชุมชนด้วยกันเอง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่เกิดความตระหนัก ในการตรวจสุขภาพ เฝ้าระวังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมด้วยตัวเองอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการคัดกรองตรวจสุขภาพกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนตะปังร่วมใจร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยปิงปองเจ็ดสี ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2487-2-19

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณี ฉาฉ่ำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด