กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการนำแผนสุขภาพชุมชนมาเป้นเครื่องมือบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการกองทุนฯสามารถเข้าใจในแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

 

 

 

2 เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลน้ำน้อย โดยเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกองทุนฯที่ประสบความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของกองทุนฯมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่

 

 

 

3 เพื่อส่งเสริมสิทธิประโยชน์ที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่นการแพทย์แผนไทย เป็นต้น
ตัวชี้วัด : เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

 

 

4 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทสบาลตำบลน้ำน้อย
ตัวชี้วัด : ได้เผยแพร่ผลงานและเกิดการขยายผลการดำเนินงานสุขภาพชุมชนภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ