กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑.กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯและภาคีเครือข่าย ไม่ได้มีการดำเนินกิจกรรม เนื่องจากมีการโยกย้่ายบคลากรเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน ๒.กิจกรรมการจัดประชุมคณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนฯเพื่อปรึกษาหารือและพิจารณาอนุมัติดครงการ มีการจัดประชุม ๗ ครั้ง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการนำแผนสุขภาพชุมชนมาเป้นเครื่องมือบริหารจัดการ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการบริหารคณะอนุกรรมการกองทุนฯสามารถเข้าใจในแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย

 

2 เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลน้ำน้อย โดยเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกองทุนฯที่ประสบความสำเร็จ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานของกองทุนฯมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาด้านสุขภาพในพื้นที่

 

3 เพื่อส่งเสริมสิทธิประโยชน์ที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่นการแพทย์แผนไทย เป็นต้น
ตัวชี้วัด : เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุดสิทธิประโยชน์ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

4 เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทสบาลตำบลน้ำน้อย
ตัวชี้วัด : ได้เผยแพร่ผลงานและเกิดการขยายผลการดำเนินงานสุขภาพชุมชนภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการนำแผนสุขภาพชุมชนมาเป้นเครื่องมือบริหารจัดการ (2) เพื่อให้เกิดการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมสุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลน้ำน้อย โดยเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมแบบบูรณาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกองทุนฯที่ประสบความสำเร็จ (3) เพื่อส่งเสริมสิทธิประโยชน์ที่เน้นภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่นการแพทย์แผนไทย เป็นต้น (4) เพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทสบาลตำบลน้ำน้อย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh