กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการฟันสวยยิ้มใส เด็กสะกอมฟันดี ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 63-L5194-1-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม
วันที่อนุมัติ 15 กรกฎาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 24,550.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวโนรีย๊ะ หัดขะเจ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะกอม อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.88,100.818place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ค. 2563 30 ก.ย. 2563 24,550.00
รวมงบประมาณ 24,550.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กไทยยังคงป็นปัญหาที่สำคัญ โดยฉพาะโรคฟันผุป็นปัญหาที่เด่นชัด ซึ่งเมื่อไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ทำให้เกิดการสูญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อพัฒนาการสุขภาพ การสบฟันที่ผิดปกติ ตลอตจนส่งผลต่อการใช้ชีวิตในประจำวัน รายงานการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งที่ ๘ ประเทศไทย ๒๕๖๐ พบว่าเด็กอายุ 3 ปี เกิดโรคฟันผุร้อยละ 52.9เด็กอายุ ๕ ปี เกิดโรคฟันผุร้อยละ 75.6 และเด็กอายุ 12 ปี เกิดโรคฟันผุร้อยละ 52 เฉลี่ย ฟันผุ 1.5 ซึ่/คน มีเหงือกอักเสบร้อยละ 66.3 สภาวการณ์โรคฟันผุของจังหวัดสงขลา ปี 2562 พบว่า เด็กอายุ 12 ปี มีโรคฟันผุร้อยละ 32.39 อำเภอเทพามี โรคฟันผุร้อยละ 47.03 ตำบลสะกอมมีโรคฟันผุร้อยละ 52.17 ซึ่งมีคำสูงกว่าระดับอำเภอและระดับจังหวัด ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม จึงได้จัดโครงการฟันสวยยิ้มใส เด็กสะกอมฟันดี เพื่อ ให้เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ตำบลสะกอม มีการแปรงฟันที่ถูกต้อง มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองเบื้องต้น และมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้นต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. จัดทำโครงการ ประชุมและชี้แจงแนวทางการดำเนินการโครงการแก่คณะผู้อำนวยการโรงเรียนและครูอนามัย
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำนักเรียน "ทันตน้อย" โดยการฝึกปฏิบัติการแปรงฟันจริง และย้อมสีฟัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะกอม ระยะเวลา สิงหาคม - กันยายน ๒๕๖๓
  3. ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน และคืนข้อมูลให้กับเด็กนักรียนและผู้ปกครองโดยจะมีใบแจ้งผลการตรวจ สุขภาพช่องปาก
  4. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ในโรงเรียนประถมศึกษาตำบล สะกอม 7 โรงเรียน ระยะเวลา สิงหาคม - กันยายน 2563
  5. จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกโรงเรียน
  6. มีการบันทึกการแปรงฟันและเสียงตามสายเดือนละ 1 ครั้ง โดย ทันตนอย 7 .สรุปผลการดำเนินงานโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปาก 2.เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 3เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 มีความในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเองเบื้องต้นที่ถูกต้อง 4.เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรมที่จำเป็นอย่างสมบูรณ์ 5.เด็กนักเรียนชั้น ป.1 - ป.6 ปราศจากฟันแท้ผุ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.ค. 2563 09:49 น.