กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ ”
ตำบลแม่โถ อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสายสุนีย์ ไกรเกริกเกียรติ




ชื่อโครงการ กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ

ที่อยู่ ตำบลแม่โถ อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน จังหวัด แม่ฮ่องสอน

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2563 ถึง 16 มิถุนายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ จังหวัดแม่ฮ่องสอน" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่โถ อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่โถ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ



บทคัดย่อ

โครงการ " กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่โถ อำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2563 - 16 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่โถ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกคนทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคมและภูมิปัญญาชุมชนตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น เกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรงส่วนหนึ่งนั้นได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคหลอดเลือดหัวใจ เป็นต้นโดยกำหนดให้มีกิจกรรมคัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการ ลด ละ เลิก กิจกรรมเสี่ยง อันได้แก่ การสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และรับประทานอาหารที่มีรสหวานมันเค็มเป็นต้น โดยให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้นมีการออกกำลังกายเป็นประจำควบคุมภาวะน้ำหนักเกิน ซึ่งการดำเนินงานหรือกิจกรรมจะประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้น จำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องและการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่
จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปี๒๕๖2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ เป้าหมายประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปคัดกรองเบาหวาน จำนวน ๑,146 คน คิดเป็นร้อยละ 92.87 ผลการคัดกรอง พบกลุ่มปกติ จำนวน 1,025 คนคิดเป็นร้อยละ 89.44 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 92 คนคิดเป็นร้อยละ 8.03 และกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 7 คนคิดเป็นร้อยละ 0.61 และเป้าหมายประชากร ๓๕ ปีขึ้นไปคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 999 คน คิดเป็นร้อยละ 92.33 ผลการคัดกรอง พบกลุ่มปกติ จำนวน 716 คนคิดเป็นร้อยละ 71.67 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 231 คนคิดเป็นร้อยละ 23.12 กลุ่มสงสัยป่วย จำนวน 42 คนคิดเป็นร้อยละ 4.20 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถมุ่งหวังเพิ่มประสิทธิภาพความครอบคลุม การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงจึงได้จัดทำโครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงปีงบประมาณ ๒๕๖3 ขึ้น โดยให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างความร่วมมือ และพัฒนากิจกรรมการปรับเปลี่ยน เพื่อลดอัตราเพิ่มของผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เกี่ยวการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
  2. ติดตามและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงเดือนละ 1 ครั้งติดต่อกัน 3 เดือน
  3. สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีพฤติกรรมสุขภาพถูกต้องตามหลัก ๓ อ. ๒ ส. และปลอดภัยจากโรคโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ๒. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นแบบอย่างที่ดีในการป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (กลุ่มเสี่ยง 92+231= 323คน)
323.00 49.54

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เกี่ยวการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เกี่ยวการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.
323.00 49.54

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 160
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 160
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับความรู้เกี่ยวการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก ๓ อ. ๒ ส.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง (2) ติดตามและประเมินผลกลุ่มเสี่ยงเดือนละ 1 ครั้งติดต่อกัน 3 เดือน (3) สรุปผลการดำเนินงานและคืนข้อมูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


กิจกรรม โครงการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ๓ อ. ๒ ส. ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแม่โถ จังหวัด แม่ฮ่องสอน

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสายสุนีย์ ไกรเกริกเกียรติ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด