กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง


“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น ”

ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลทุ่งบุหลัง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5292-02-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มิถุนายน 2560 ถึง 30 มิถุนายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5292-02-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มิถุนายน 2560 - 30 มิถุนายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,692.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังเข้าไม่ถึงข้อมูล และบริการด้านเพศศึกษาทำให้วัยรุ่นขาดความรู้และทักษะในการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างต่อเนื่อง ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำเนิด อย่างถูกวิธีไม่สามารถ ควบคุมอารมณ์ตนเองเมื่ออยู่กับเพศตรงข้ามถูกกระตุ้นอารมณ์จากสื่อในทางลบ การใช้สารเสพติดรวมทั้งการเข้าไม่ถึงการบริการคุมกำเนิด ที่มีประสิทธิภาพสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริม ต่อพฤติการณ์รมทางเพศของวัยรุ่นที่สถานการณ์และแนวโน้ม ขณะนี้น่าเป็นห่วงผลกระทบต่าง ๆ นี้ทำให้ประเทศไทยประสบปัญหาทางสังคมมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาที่เกิดกับเด็กและเยาวชนปัจจุบันพบว่า เด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือประมาณ ๑๒ ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและความรับผิดชอบของตัวเอง ดังนั้นจึงมีความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ เช่น เสี่ยงต่อการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วนำไปทิ้ง มีน้ำหนักเด็กแรกเกิดต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม และยังมีผลต่อการออกจากโรงเรียนกลางคัน รวมทั้งความไม่พร้อมในการเลี้ยงลูก กระทำความรุนแรงในครอบครัว เป็นแรงงานราคาถูกครอบครัวแตกแยก และยังอาจจะเกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมาอีกมากมาย ปัจจุบันปัญหาเด็กวัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและนำไปสู่การตั้งครรภ์ไม่พร้อม มีอยู่ทุกภาคส่วนของไทยและมีจำนวนเพิ่มขึ้นรวดเร็ว จากข้อมูลแจ้งเกิดเมื่อปี ๒๕๕๖ พบว่าเด็กวัยรุ่นต่ำกว่า ๒๐ ปี และต่ำกว่า ๑๔ ปี มีการตั้งครรภ์และคลอดบุตร จำนวน ๑๐๖,๗๕๖ คน ทั่วประเทศ (ข้อมูลปี ๒๕๕๖) ดังนั้นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นจึงเป็นเรื่องเร่งด่วนที่ต้องได้รับการป้องกันแก้ไขโดยทุกภาคส่วน ที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างจริงจัง ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลทุ่งบุหลัง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งบุหลัง จึงจัดทำโครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น ประจำปี ๒๕๖๐ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
  2. เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและมีความรัก ความเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น
  3. เพื่อให้เด็กเยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษา และการป้องกันการตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๗.๑ เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรและการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ๗.๒ ครอบครัวมีความอบอุ่น พ่อ แม่ ผู้ปกครองทำหน้าที่อบรมสั่งสอนลูกหลานให้เป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม รู้จักหน้าที่ความรับผิดชอบและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัย ๒.๓ เด็กเยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษา และการป้องกันการตั้งครรภ์ ๒.๔ เด็ก เยาวชน ผู้ปกครอง มีความรัก ความเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น

    วันที่ 12 พฤษภาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    ประชุมคณะกรรมการ/ผู้ประสานงาน ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ประสานงานในการจัดหาสถานที่ในการจัดกิจกรรม โครงการ จัดหาวิทยากร จัดการอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย สรุปประเด็นทั้งหมดพร้อมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรม

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายทั้งเยาวชนและผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร เพศศึกษาการป้องกันการตั้งครรภ์และได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และความรู้เรื่องปัญหายาเสพติดและการป้องกันตนเองจากภัยยาเสพติด จากการประเมินผลโครงการทำให้ได้รับทราบปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในท้องถิ่น และสร้างความรักความเข้าใจแก่เด็กและผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น  เยาวชนสามารถนำความรู้ต่างๆ ที่ได้รับนำมาถ่ายทอดแก่เพื่อนๆ ได้อย่างดี

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด : จากแบบสอบถามก่อนและหลังโครงการ

     

    2 เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและมีความรัก ความเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น
    ตัวชี้วัด : จากกิจกรรมที่วิทยากรให้ทำและจากแบบสอบถามก่อนและหลังโครงการ

     

    3 เพื่อให้เด็กเยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษา และการป้องกันการตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : จากแบบสอบถามก่อนและหลังโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 25
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร (2) เพื่อให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง ได้เรียนรู้ถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคมและมีความรัก ความเข้าใจกันมากยิ่งขึ้น (3) เพื่อให้เด็กเยาวชน ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเพศศึกษา และการป้องกันการตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมและก่อนวัยอันควรในวัยรุ่น จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5292-02-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลทุ่งบุหลัง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด