กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560 ”

ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางธิดา เหมือนพะวงศ์

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-50094-1-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโดน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-50094-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันกระแสของการสร้างเสริมสุขภาพกำลังเป็นที่กล่าวถึงในประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งองค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสุขภาพได้ให้ความสำคัญในประเด็นดังกล่าวเป็นอย่างมาก เป็นประเด็นการเคลื่อนไหวทางสาธารณสุขที่สำคัญ และถือได้ว่าเป็นจุดหักเหหรือการเปลี่ยนแปลงแนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ จากจุดเน้นของการบริการแบบ "ตั้งรับ" หรือ "โรงซ่อมสุขภาพ" ซึ่งเน้นการรักษาสุขภาพ เพื่อป้องกันมิให้เกิดการเจ็บป่วย เนื่องจากที่ผ่านมาพบว่าระบบที่มุ่งการซ่อมสุขภาพเป็นระบบที่มีความสิ้นเปลืองต้นทุน ค่าใช้จ่ายสูง เกิดผลกระทบทั้งคนไข้และสังคม ในส่วนของคนไข้นอกจากจะต้องเสียค่ารักษาพยาบาลแล้วยังต้องสูญเสียรายได้เนื่องจากขาดงานแล้วอาจมีปัญหาด้านสุขภาพจิต ในส่วนของสังคมส่วนรวมต้องแบกรับภาระ ความเจ็บป่วยเกินความจำเป็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดูผู้เจ็บป่วย พิการ เสียทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า เสียโอกาสในการนำทรัพยากรไปใช้ในด้านต่างๆ เนื่องจากต้องนำมาใช้ในการลงทุนสร้างระบบบริการ เพื่อรองรับความเจ็บป่วย การทำให้สุขภาพดีจะทำให้ระบบเสียค่าใช้จ่ายน้ยกว่าการรอรักษาและฟื้นฟูเมื่อสุขภาพเสียแล้ว ระบบสุขภาพจึงควรมุ่งเน้นที่การ "สุขภาพ" จากการดำเนินงานด้านการสร้างสุขภาพในกลุ่ม อสม.ตำบลควนโดน พบว่า อสม.ส่วนใหญ๋มีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง มีภาวะอ้วนลงพุง ชอบรับประทานอาหารหวาน มัน เค็ม อีกทั้งไม่ได้ออกกำลังกาย และพบว่ามีการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือด โรคมะเร็ง โรคมะเร็ง โรคหัวใจ ซึ่งบ่งบอกได้ว่า กลุ่มดังกล่าวยังมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ทั้งที่ในบทบาทการดำเนินงาน ต้องเป็นต้นแบบที่ดีเพื่อการส่งเสริมและการป้องกันโรค เพื่อลดภาวะเสี่ยงต่างๆที่จะตามมา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560 เพื่อเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรค อสม. ตำบลควนโดนขึ้น เพื่อให้ อสม. มีความรู้ที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ดียิ่งขึ้น และเชื่อมสู่การแนะนำ การดูแล ติดตามกลุ่มส่งสัยป่วยในชุมชน ในเขตที่รับผิดชอบได้มีการดูแลซึ่งกันและกันอย่างเหมาะสม ลดภาวะเสี่ยงของโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง และอยู่ร่วมกีนในสังคมร่วมกันได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เกิดคนต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
  2. 2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2ส.
  3. 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
  4. 4. กลุ่มเป้าหม้ายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเรว จากฐานเดิมได้ ร้อยละ 5

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก รอบเอว จากฐานเดิมได้ร้อยละ 5
    2. กลุ่มสงสัยป่วยในชุมชนได้รับการติดตาม ร้อยละ 100

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. ตรวจสุขภาพ พร้อมจัดทำข้อมูลจำแนกกลุ่ม โดยใช้เครื่องมือปิงปอง 7 สี  กลุ่มเป้าหมาย 100 คน พบว่า มีความเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 48 เสี่ยงโรคเบาหวาน ร้อยละ 29.50 มีความเสี่ยงทั้งสองโรค ร้อยละ 5 มีค่าดัชนีมวลกายเกินร้อยละ 42 มีรอบเอวเกิน ร้อยละ 38 มีการจัดทำทะเบียน ให้สุขศึกษารายกลุ่มและรายกรณี ติดตาม ทุก 1 เดือน 3 เดือน
    2. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อการดูแลสุขภาพตนเองและการขยายผลการดูแลกลุ่มสงสัยป่วยในชุมชน และการเรียนรู้การดูแลสุขภาพ การติดตามเพื่อส่งเสริมและการป้องกันโรคในชุมชน กลุ่มเป้าหมาย 100 คน โดยมีการตรวจสุขภาพจำแนกกลุ่มความเสี่ยง จัดทำข้อตกลงร่วมกัน วิเคราะห์สุขภาพตนเองตามโซนสี 3อ2ส และส่งเสริมการออกกำลังกายตามวิถีชุมชน  มีการประเมินความรู้ก่อนการพัฒนาศักยภาพตนเอง พบว่า ความรู้ก่อนการเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 65 หลังเข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ เพิ่มขึ้น ร้อยละ 95 มีการจัดโซนการดูแลและติดตามเยี่ยมตามลักษณะพื้นที่ และความรับผิดชอบโดยมีการไขว้ทีมในการติดตามเยี่ยมกลุ่มเสี่ยงในชุมชนร่วมด้วยเพื่อเสริมสร้างการรู้จักกันและเสริมสร้างสัมพันธภาพกับคนในชุมชนร่วมด้วย
    3. รณรงค์สร้างกระแสด้านสุขภาพ
    4. จัดโซนนิ่งการดูแลและการติดตามกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เกิดคนต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2ส.
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. กลุ่มเป้าหม้ายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเรว จากฐานเดิมได้ ร้อยละ 5
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เกิดคนต้นแบบและการขยายผลการส่งเสริมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงในชุมชน (2) 2. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วยด้วยโรคภัยเงียบได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2ส. (3) 3. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรังในชุมชน (4) 4. กลุ่มเป้าหม้ายได้พัฒนาตนเองสามารถลดน้ำหนัก ลดรอบเรว จากฐานเดิมได้ ร้อยละ 5

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสุขภาพดี ชีวีมีสุข ประจำปี 2560 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-50094-1-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางธิดา เหมือนพะวงศ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด