กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ”
ตำบลเชิงคีรี อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
ผอ.รพ.สต.บ้่านตามุง




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลเชิงคีรี อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2525-01-06 เลขที่ข้อตกลง 2563/14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 1 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเชิงคีรี อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เชิงคีรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเชิงคีรี อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2525-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 1 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เชิงคีรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล

การดูแลผู้ป่วยที่บ้านเป็นกลยุทย์สำคัญที่ช่วยลดเวลาการนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลทำให้ปริมาณงานและค่าใช้จ่ายในภาพรวมลดลง การดูแลผู้ป่วยที่บ้านมีโอกาสใกล้ชิดและรับทราบปัญหาทั้งหมดทุกด้านที่มีผลกระทบต่อการฟื้นหายของผู้ป่วย ช่วยให้การค้นหาสาเหตุร่วมของการเจ็บป่วยและการแก้ปัญหาได้ตรงจุดมากขึ้นปัจจุบัน ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม ออกกำลังกายน้อย ทำให้เกิดโรคต่าง ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงซึ่งการเจ็บป่วยเรื้อรังทำให้มีผลกระทบรุนแรงต่อครอบครัว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตามุง เห็นความสำคัญและความจำเป็นในการดูแลเพื่อแก้ปัญหาทั้ง 3 ระดับในระยะยาวและประกอบกับในปี ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตามุงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ๑๙๐ คน ผู้ป่วยเบาหวาน 12 คนและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับเบาหวาน ๕๖ คน และมีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้นทุกปี โดยปี ๒๕๖๒ พบป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๒๒ คน ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน ๒ คน กลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM) และโรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขโดยรวม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตามุง จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรค เบาหวาน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลที่ถูกวิธี ป้องกันและลดการเกิดโรคแทรกซ้อน ควบคุมการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย โดยใช้ยาน้อยที่สุด ส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง สุขภาพจิตดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนของโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่มีภาวะแทรกซ้อน
1. ๒.ผู้ดูแลมีความรู้ และสามารถดูแลให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเรื้อรัง
2. ๓.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถปรุงอาหารให้กับผู้ป่วยได้ถูกต้องเหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนของโรค

วันที่ 18 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

๑. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ และขอสนับสนุนงบประมาณ ๒. ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน
๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการตรวจคัดกรองความเสี่ยงในชุมชน เช่น อบต. ผู้นำท้องถิ่น และภาคีเครือข่าย           4. ประชาสัมพันธ์กลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้าร่วมโครงการ           5. อบรมให้ความรู้ทำความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยวิทยากรมีเนื้อหา ดังนี้ -  การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1 ชั่วโมง - การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวาน  จำนวน 1 ชั่วโมง - การดูแลภาวะแทรกซ้อน โรคความดันโลหิตสูง / โรคเบาหวานพร้อมฝึกปฏิบัติ  จำนวน 1 ชั่วโมง - แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและการปฏิบัติตัวเพื่อห่างไกลโรคโรคความดันโลหิตสูง / โรคเบาหวาน จำนวน 1 ชั่วโมง - ปัจจัยที่มีผลต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานจำนวน 1 ชั่วโมง - วิธีการเลือกอาหาร  จำนวน 1 ชั่วโมง 6 .ส่งต่อผู้ป่วยสงสัยรายใหม่และผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ตามเกณฑ์มาตรฐาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานไม่มีภาวะแทรกซ้อน
1. ๒.ผู้ดูแลมีความรู้ และสามารถดูแลให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเรื้อรัง
2. ๓.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถปรุงอาหารให้กับผู้ป่วยได้ถูกต้องเหมาะสม

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ภาวะแทรกซ้อนของโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2525-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผอ.รพ.สต.บ้่านตามุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด