โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดำรงค์ นะยะอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
กรกฎาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4153-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2560 ถึง 7 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4153-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2560 - 7 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างโอกาสให้ประชาชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาสกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ กลุ่มเด็กในภาวะยากลำบาก ซึ่งประกอบด้วย เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กเร่ร่อนและเด็กที่ยากจนและไม่มีโอกาสศึกษาต่อกลุ่มเด็ก และถูกประทุษร้ายทารุณต่างๆ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุที่ยากจนไม่มีญาติหรือผู้เลี้ยงดู กลุ่มคนยากจนในเมืองและชนบท กลุ่มผู้ถูกคุมประพฤติและผู้ต้องขังและกลุ่มคนไทยต่างวัฒนธรรม ได้รับการช่วยเหลือคุ้มครองและได้รับบริการทุกด้านอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมเพราะสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเกิดการชะลอตัวค่าครองชีพเครื่องอุปโภคบริโภค มีราคาสูง รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้การดำเนินชีวิตอยู่เพียงของ ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ยากลำบาก หลายรายในสังคมมีโรคประจำตัวหรือต้องเป็นผู้ติดเตียง ไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรมต่างๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป
ดังนั้นอาสาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลกายูบอเกาะ จึงได้เสนอจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ โดยจะจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพในการดำเนินชีวิต อยู่อย่างไรให้ไกลโรค และสามารถดูแลตัวเองได้เมื่อเจ็บป่วย รวมถึงให้บริการตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้กับกลุ่มเป้าหมายและเพื่อเป็นการทบทวนเนื้อหาและการฝึกฝนให้เกิดความชำนาญในการดูแลกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในด้านต่างๆ เช่น การส่งเสริมความรู้ด้านอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการส่งเสริมกำลังใจแก่เด็ก ผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ ประกอบกับช่วงนี้เป็นเดือนรอมฎอนซึ่ง เป็นเดือนที่มีความสำคัญทางศาสนาเป็นอย่างมากต่อประชาชาติมุสลิมทั่วโลก ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามทุกคนที่มีอายุครบกำหนดและเข้าเกณฑ์บังคับตามศาสนบัญญัติจำเป็นต้องถือศีลอดและปฏิบัติตามศาสนกิจตามที่ศาสนากำหนด พร้อมทั้งละเว้นความชั่วและปฏิบัติแต่ความดี และประชาชนที่อยู่อาศัยในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ นับถือศาสนาอิสลาม 100% โดยประชาชนมารวมตัวกันที่มัสยิดหรือสถานที่นัดหมาย เพื่อละศีลอดพร้อมกัน และร่วมรับประทานอาหาร พบปะสนทนา ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวแสดงออกถึงความสามัคคีของประชาชนตามข้อบัญญัติทางศาสนายังส่งเสริมให้ประชาชนทุกคนร่วมชุมนุมในการประกอบพิธีละศีลอดร่วมกันที่มัสยิดหรือบาลาเสาะ อันเป็นศูนย์รวมของชุมชน ตลอดจนมีกิจกรรมการบรรยายธรรมทางศาสนาโดยอิหม่าม หรือผู้มีความรู้ด้านต่างๆทางด้านศาสนา ด้านสุขภาพ และด้านอื่นๆที่เกี่ยวกับดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม เน้นให้ชุมชนพึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการให้ความรู้ด้านต่างๆมาประกอบการฝึกอบรม เน้นการทำงานให้คนในตำบลมีคุณภาพชีวิตที่ดี ให้ได้รับการดูแลที่เท่าเทียม และสามารถยืนอยู่ได้ด้วยขาของตัวเอง มีความรู้และประกอบอาชีพสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต อย่างมีคุณค่าและมีศักดิ์ศรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล มีความรู้และความสามารถในการดูแลสุขภาพร่างกาย รวมถึงสามารถดูแลตนเองและผู้อื่นได้ในกรณีเบื้องต้น
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากทั้งผู้ดูแลและเยาวชนในพื้นท่าตนเอง
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล นอกจากได้รับความรู้ด้านการดูแลสุขภาพแล้ว ยังสามารถพัฒนาเป็นอาชีพจากภูมิปัญญาชาวบ้านจากรุ่นสู่รุ่นได้อีกด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมให้ความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติความรู้ด้านต่างๆ การแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการ
วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์
9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง
9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
120
120
2. กิจกรรมดูแล เยี่ยมเยียน เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ตามบ้าน
วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์
9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง
9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
120
120
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์
9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง
9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ได้
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
40
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4153-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายดำรงค์ นะยะอิ
กรกฎาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4153-2-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 6 กรกฎาคม 2560 ถึง 7 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4153-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 6 กรกฎาคม 2560 - 7 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การเสริมสร้างโอกาสให้ประชาชนกลุ่มผู้ด้อยโอกาสกลุ่มใหญ่ๆ ได้แก่ กลุ่มเด็กในภาวะยากลำบาก ซึ่งประกอบด้วย เด็กที่ได้รับผลกระทบจากโรคเอดส์ เด็กเร่ร่อนและเด็กที่ยากจนและไม่มีโอกาสศึกษาต่อกลุ่มเด็ก และถูกประทุษร้ายทารุณต่างๆ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้สูงอายุที่ยากจนไม่มีญาติหรือผู้เลี้ยงดู กลุ่มคนยากจนในเมืองและชนบท กลุ่มผู้ถูกคุมประพฤติและผู้ต้องขังและกลุ่มคนไทยต่างวัฒนธรรม ได้รับการช่วยเหลือคุ้มครองและได้รับบริการทุกด้านอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมเพราะสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเกิดการชะลอตัวค่าครองชีพเครื่องอุปโภคบริโภค มีราคาสูง รายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้การดำเนินชีวิตอยู่เพียงของ ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ยากลำบาก หลายรายในสังคมมีโรคประจำตัวหรือต้องเป็นผู้ติดเตียง ไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรมต่างๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป
ดังนั้นอาสาสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลกายูบอเกาะ จึงได้เสนอจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ โดยจะจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพในการดำเนินชีวิต อยู่อย่างไรให้ไกลโรค และสามารถดูแลตัวเองได้เมื่อเจ็บป่วย รวมถึงให้บริการตรวจสุขภาพเบื้องต้นให้กับกลุ่มเป้าหมายและเพื่อเป็นการทบทวนเนื้อหาและการฝึกฝนให้เกิดความชำนาญในการดูแลกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในด้านต่างๆ เช่น การส่งเสริมความรู้ด้านอาชีพ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการส่งเสริมกำลังใจแก่เด็ก ผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ ประกอบกับช่วงนี้เป็นเดือนรอมฎอนซึ่ง เป็นเดือนที่มีความสำคัญทางศาสนาเป็นอย่างมากต่อประชาชาติมุสลิมทั่วโลก ผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามทุกคนที่มีอายุครบกำหนดและเข้าเกณฑ์บังคับตามศาสนบัญญัติจำเป็นต้องถือศีลอดและปฏิบัติตามศาสนกิจตามที่ศาสนากำหนด พร้อมทั้งละเว้นความชั่วและปฏิบัติแต่ความดี และประชาชนที่อยู่อาศัยในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกายูบอเกาะ นับถือศาสนาอิสลาม 100% โดยประชาชนมารวมตัวกันที่มัสยิดหรือสถานที่นัดหมาย เพื่อละศีลอดพร้อมกัน และร่วมรับประทานอาหาร พบปะสนทนา ซึ่งกิจกรรมดังกล่าวแสดงออกถึงความสามัคคีของประชาชนตามข้อบัญญัติทางศาสนายังส่งเสริมให้ประชาชนทุกคนร่วมชุมนุมในการประกอบพิธีละศีลอดร่วมกันที่มัสยิดหรือบาลาเสาะ อันเป็นศูนย์รวมของชุมชน ตลอดจนมีกิจกรรมการบรรยายธรรมทางศาสนาโดยอิหม่าม หรือผู้มีความรู้ด้านต่างๆทางด้านศาสนา ด้านสุขภาพ และด้านอื่นๆที่เกี่ยวกับดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อประชาชนโดยรวม เน้นให้ชุมชนพึ่งพาอาศัยกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการให้ความรู้ด้านต่างๆมาประกอบการฝึกอบรม เน้นการทำงานให้คนในตำบลมีคุณภาพชีวิตที่ดี ให้ได้รับการดูแลที่เท่าเทียม และสามารถยืนอยู่ได้ด้วยขาของตัวเอง มีความรู้และประกอบอาชีพสร้างความมั่นคงให้กับชีวิต อย่างมีคุณค่าและมีศักดิ์ศรี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล มีความรู้และความสามารถในการดูแลสุขภาพร่างกาย รวมถึงสามารถดูแลตนเองและผู้อื่นได้ในกรณีเบื้องต้น
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากทั้งผู้ดูแลและเยาวชนในพื้นท่าตนเอง
- เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล นอกจากได้รับความรู้ด้านการดูแลสุขภาพแล้ว ยังสามารถพัฒนาเป็นอาชีพจากภูมิปัญญาชาวบ้านจากรุ่นสู่รุ่นได้อีกด้วย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมให้ความรู้เชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติความรู้ด้านต่างๆ การแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการ |
||
วันที่ 6 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ 9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง 9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
|
120 | 120 |
2. กิจกรรมดูแล เยี่ยมเยียน เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ตามบ้าน |
||
วันที่ 7 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ 9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง 9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
|
120 | 120 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
9.1. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ 9.2. เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุอาสาสมัคร และผู้ดูแล ได้รับการดูแล อย่างต่อเนื่อง 9.3 เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้รับความรู้ด้านการส่งเสริมอาชีพตามภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่สามารถใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ได้ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุ อาสาสมัครและผู้ดูแล ได้มีความรู้และสามารถป้องกันตนเองให้ห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ โดยนำความรู้เดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้จนสามารถสร้างอาชีพได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพแก่เด็กผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้สูงอายุและอาสาสมัครผู้ดูแลพื้นที่ตำบลกายูบอเกาะ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 60-L4153-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายดำรงค์ นะยะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......