กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. เกษตรกรและประชาชนทั่วไปมารับบริการตรวจสารพิษตกค้างในร่างกาย จำนวน ๑๙๗ คน ๒. จากการประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช โดย อสม. เป็นผู้สัมภาษณ์ พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยงต่อสุขภาพในการทำงานเบื้องต้น อยู่ในระดับต่ำ ร้อยละ ๑๔.๒ ระดับปานกลางร้อยละ ๓๐.๕๕ ระดับค่อนข้างสูงร้อยละ ๔๐.๐๔และระดับสูงร้อยละ ๑๕.๒๑
๓. จากการตรวจสารพิษตกค้างในเลือด พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความเสี่ยงของสารพิษตกค้างในเลือด   อยู่ในระดับปลอดภัยร้อยละ ๔๔.๖๗ (๘๘ คน) ระดับมีความเสี่ยงร้อยละ ๓๙.๐๙ (๗๗ คน) และระดับไม่
  ปลอดภัยร้อยละ ๑๖.๒๔ (๓๒ คน)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
20.00 15.00 12.50

 

2 เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้บริโภคที่มีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย(คน)
31.00 20.00 32.00

 

3 ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเกษตรกรที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือด เกินมาตรฐานความปลอดภัย ลดลงเหลือ
39.28 30.00 39.09

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 197
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 29
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 168
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค (2) เพื่อแก้ไขปัญหาผู้บริโภคมีสารเคมีทางการเกษตรตกค้างในกระแสเลือดระดับอันตราย (3) ลดสารเคมีตกค้างในเลือดของเกษตรกร

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมดูแลสุขภาพเชิงรุก ประกอบด้วย สัมภาษณ์เพื่อประเมินความเสี่ยงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และเจาะเลือดตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงต่อพิษสารกำจัดศัตรูพืช (2) ประชุมคณะทำงานเพื่อชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการ (3) อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและผุ้บริโภคที่ตรวจพบมีสารพิษตกค้างในเลือด (4) อบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรและกลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh