กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560 ”

รพ.สต.น้ำน้อยตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวันจรัส พรหมศิริ

ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560

ที่อยู่ รพ.สต.น้ำน้อยตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60/L8404/01/08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.น้ำน้อยตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.น้ำน้อยตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60/L8404/01/08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาเยาวชนไทยในปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่าอยู่ในภาวะที่ค่อนข้างวิกฤติ โดยเฉพาะปัญหาในด้านของสื่อสมัยใหม่ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่เหมาะสม การใช้ความรุนแรง และยาเสพติด ซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากปัจจัยต่างๆ ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจากข้อมูลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ของโรงเรียนในพื้นที่ และเด็กในพื้นที่แต่ไปเรียนนอกพื้นที่พบว่า ตั้งแต่ปี 2558 2559 มีนักเรียนต้องออกจากระบบการสึกษากลางคันเฉลี่ยปีละ 1-2 คน จากปัญหาการตั้งครรภ์ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า เยาวชนยังขาดความรู้ในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร ถึงแม้มีตัวเลขเฉลี่ยไม่ถึงร้อยละ 1 แต่หากนิ่งเฉยปัญหาอาจเพิ่มมากขึ้นได้ในอนาคตเพราะบางสิ่งได้เรียนในตำรา เป็นเพียงความรู้พื้นฐานซึ่งไม่ได้ลึกลงไปในรายละเอียดว่า หากอยู่ในสถานการณ์แบบนี้เขาจะต้องทำตัวอย่างไรหรือมีการป้องกันตนเองอย่างไร ซึ่งหากยังปล่อยให้สถานการณ์อย่างนี้เกิดขึ้นกับนักเรียนของเราต่อไป เด็กที่ออกไปก็จะหมดอนาคตกลายเป็นปัญหาของสังคม หมดโอกาสที่ดีในชีวิตเพราะความผิดพลาดเพียงครั้งเดียว โครงการนี้จึงทำหน้าที่ให้ความรู้ที่ลึกซึ้งกับเด็กให้รู้ทั้งโทษผลเสีย วิธีป้องกัน การหลีกเลี่ยง ให้เขาสามารถดูแลตัวเองไม่ให้เกิดสิ่งที่จะเป็นปัญหากับชีวิตในวัยเรียน หรือหากหลีกเลี่ยงไม่ได้ก็ให้รู้วิธีการป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดโรคติดต่อหรือเกิดการตั้งครรภ์ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพที่เกิดขึ้นมาเพื่อปลูกฝังให้เยาวชนได้มีความรู้และความเข้าใจในการบริโภคสื่อที่เหมาะสมกับวัย ไม่ยั่วยุต่อการมีเพศสัมพันธ์ มีทักษะการปฏิเสธเพศตรงข้าม ลดอัตราความเสี่ยงในการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร รู้วิธีหลีกเลี่ยงและป้องกันตนเองไม่ให้เกิดการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์และโรคติดต่อทางเพศครอบครัว ชุมชนเข้ามามีความสำคัญในการป้องกันปัญหาดังกล่าวได้อย่างเข้มแข็ง นำความรู้ที่ได้รับไปบอกต่อให้กับเพื่อนน้องพี่ในโรงเรียน มีการอภิปรายให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาในโลกยุคไร้พรมแดน แลกเปลี่ยนทัศนะกันระหว่างเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ผู้ปกครอง ครู และเด็กนักเรียน เพื่อให้เยาวชนทุกคนรู้เท่าทันการใช้ชีวิตในเรื่องต่างๆเหล่านี้ในยุคปัจจุบัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนม.1-3 รู้จักดูแลสุขภาพทักษะการปฏิเสธและวิธีการป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้ท้องก่อนวัย และรู้จักแหล่งช่วยเหลือเมื่อท้องไม่พร้อม
  2. ผู้ปกครอง ครู และแกนนำชุมชนเข้าใจและตระหนักในปัญหาของวัยรุ่น พร้อมร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 74
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ปกครอง ครู และแกนนำชุมชนเข้าใจและตระหนักในปัญหาของวัยรุ่น พร้อมร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันแก้ไข 2.นักเรียนมีความรู้ในการดำเนินชีวิตช่วงวัยรุ่นได้อย่างถูกต้องและสามารถนำพาชีวิตไปสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมชี้แจงโครงการ

    วันที่ 3 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลการดำเนินงาน มีการดำเนินงานตามกิจกรรมครบทุกกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการอบรม ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ครั้งที่ 1 กิจกรรม ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้องโดยตั้งเป้าไว้ 15 คน มีผู้เข้าร่วม 15 คน

     

    15 15

    2. อบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน อสม. ครู ผู้ปกครอง

    วันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน อสม. ครู ผปค. โดยตั้งเป้าไว้ 50 คน มีผู้เข้าร่วม 50 คน

     

    50 0

    3. อบรมเด็กนักเรียน

    วันที่ 21 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 74 คน

     

    74 74

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการดำเนินงานตามกิจกรรมครบทุกกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมในการอบรม ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ครั้งที่ 1 กิจกรรม ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้เกี่ยวข้องโดยตั้งเป้าไว้ 15 คน มีผู้เข้าร่วม 15 คน จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำหมู่บ้าน อสม. ครู ผปค. โดยตั้งเป้าไว้ 50 คน มีผู้เข้าร่วม 50 คน มีนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม 74 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้นักเรียนม.1-3 รู้จักดูแลสุขภาพทักษะการปฏิเสธและวิธีการป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้ท้องก่อนวัย และรู้จักแหล่งช่วยเหลือเมื่อท้องไม่พร้อม
    ตัวชี้วัด : 1.นักเรียนม.1-3 มีความรู้วิธีการป้องกันตนเองไม่ให้ท้องก่อนวัย และสามารถบอกถึงแหล่งข่าวช่วยเหลือคนท้องไม่พร้อมได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 จากการใช้แบบถามก่อนและหลังการอบรม

     

    2 ผู้ปกครอง ครู และแกนนำชุมชนเข้าใจและตระหนักในปัญหาของวัยรุ่น พร้อมร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันแก้ไข
    ตัวชี้วัด : มีชมรมผู้ปกครอง 1 ชมรม

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 74
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 74
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนม.1-3 รู้จักดูแลสุขภาพทักษะการปฏิเสธและวิธีการป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้ท้องก่อนวัย และรู้จักแหล่งช่วยเหลือเมื่อท้องไม่พร้อม (2) ผู้ปกครอง ครู และแกนนำชุมชนเข้าใจและตระหนักในปัญหาของวัยรุ่น พร้อมร่วมมือกันหาแนวทางป้องกันแก้ไข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ปี 2560 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60/L8404/01/08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวันจรัส พรหมศิริ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด